กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ องค์ความรู้เทคโนโลยีร่วมสมัย ผู้บริโภคได้รับประโยชน์จากความ เจริญก้าวหน้า ความรวดเร็วในการใช้ เทคโนโลยีใหม่ๆสินค้านำเข้าราคาถูกลง ทำ ให้เกิดการแข่งขันระหว่างประเทศ
ผลดีของโลกาภิวัตน์ 1. ทำให้มีการค้าขายและการลงทุน ข้ามชาติ 2. สร้างงานในประเทศ 3. บูรณาการด้านเศรษฐกิจกับ สิ่งแวดล้อมโดยสร้างตลาดจาก สินค้าที่มีศักยภาพ
ผลเสียของโลกาภิวัตน์ 1. ทำให้สูญเสีย ทรัพยากรธรรมชาติ 2. การลงทุนแข่งขันทำให้ต้อง ต่อสู้กันเพื่อชัยชนะ ( ไม่มีมิตร แท้ )
ต้องให้โลกพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยทุก ประเทศต้องพัฒนาศักยภาพด้านเศรษฐกิจ ประเทศพัฒนาต้องช่วยประเทศที่กำลัง พัฒนา ปรับตัวให้ทันกับเทคโนโลยีซึ่งก้าวหน้า อย่างรวดเร็ว ส่งเสริมการค้าและการลงทุนไม่เอา เปรียบประเทศที่ด้อยกว่า
คน (Man) งบประมาณ (Money) วัสดุอุปกรณ์ ( Material) การจัดการ (Management)
ข้อมูลสารสนเทศ (Information) เทคโนโลยี (Technology)
ใช้คนเท่าเดิมทำงานได้ มากขึ้น งานเท่าเดิมแต่ใช้คน น้อยลง คุณภาพของงานต้องดี เท่าเดิมหรือดีกว่า
การบริหารจัดการที่ดีในภาครัฐ (Good governance) หรือเรียกว่าธรร มาภิบาล จะช่วยกระตุ้นอย่างมากต่อ การพัฒนาและขยายตัวของจริยธรรม ในทางธุรกิจ การบริจัดการที่ดีนั้น ต้องยึดมั่นในหลักคุณธรรมและ จริยธรรมรวมทั้งความรับผิดชอบต่อ สังคม
1. ความโปร่งใส 2. ความซื่อสัตย์สุจริต 3. ความรับผิดชอบ 4. ความสามารถที่อธิบายได้ 5. หลักนิติธรรม 6 หลักคุณธรรม
1. มีความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้นและผู้มี ผลประโยชน์ร่วม 2. โปร่งใสในการบริหารจัดการ 3. มุ่งมั่นสู่ความเป็นเลิศ 4. เน้นสร้างมูลค่าและผลตอบแทนระยะ ยาว 5. มีความซื่อสัตย์สุจริต 6. หลักคุณธรรมและจริยธรรม 7. ปรับปรุงกลไกการตรวจสอบให้มี ประสิทธิภาพ
จริยธรรมเป็นปัจจัยสำคัญต่อการสร้าง ความมั่นคงแก่มนุษย์ป้องกันไม่ให้เกิด วิกฤติเศรษฐกิจขึ้น สร้างความเป็น ธรรมในสังคมและส่งผลให้ธุรกิจ เอกชนรับผิดชอบต่อสังคมและมนุษย์ ชาติมากขึ้น ในส่วนของความสัมพันธ์ ระหว่างจริยธรรมกับการจัดการ เห็นได้ ว่าเป็นความสัมพันธ์ที่เกี่ยวกับ จริยธรรมกับการดำเนินงานทางธุรกิจ