การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI ) ทำหมันแล้วท้อง ห้องผ่าตัดโรงพยาบาลดอนเจดีย์
มูลเหตุจูงใจ ในปี 2547 - 2549 พบผู้ป่วยตั้งครรภ์หลังผ่าตัดทำหมันหญิง ในปี 2547 - 2549 พบผู้ป่วยตั้งครรภ์หลังผ่าตัดทำหมันหญิง 2 ราย จากผู้มารับบริการผ่าตัดทำหมันหญิงหลังคลอด 81 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.46% ส่งผลให้ผู้ป่วยและญาติ ต้องรับภาระ เลี้ยงดูบุตรเพิ่มขึ้นจากจำนวนบุตรที่มีอยู่แล้ว อาจส่งผลกระทบ ต่อตัวเด็กทั้งด้านร่างกายและจิตใจ รวมถึงภาพลักษณ์ขององค์กร ผู้รับบริการขาดความเชื่อมั่น ไม่ไว้วางใจ
แผนภูมิแสดงผู้รับการผ่าตัด
วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติร่วมกันระหว่าง แพทย์ทำผ่าตัด และทีมผ่าตัด เพื่อให้การผ่าตัดทำหมันหญิงประสบความ สำเร็จ ไม่มีภาวะแทรกซ้อน -ป้องกันข้อร้องเรียน
ไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์หลังผ่าตัดทำหมันหญิง เป้าหมาย ไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์หลังผ่าตัดทำหมันหญิง
อัตรา โอกาสล้มเหลวในการผ่าตัดทำหมันหญิง < 1% ตัวชี้วัด อัตรา โอกาสล้มเหลวในการผ่าตัดทำหมันหญิง < 1%
วัสดุที่ใช้ผูกท่อนำไข่ ด้อยคุณภาพ - พยาธิสภาพเชื่อมต่อกันเอง วิเคราะห์สาเหตุ - แพทย์ขาดทักษะและความชำนาญ วัสดุที่ใช้ผูกท่อนำไข่ ด้อยคุณภาพ - พยาธิสภาพเชื่อมต่อกันเอง
แนวทางการดำเนินงานแก้ไขปัญหา และปรับปรุงระบบ ครั้งที่ 1 แนวทางการดำเนินงานแก้ไขปัญหา และปรับปรุงระบบ ครั้งที่ 1 - นำเรื่องทบทวนในทีม PCT - ทบทวนเทคนิคการผูก และตัดท่อนำไข่ภายในทีมผ่าตัด ปรับเปลี่ยนวัสดุที่ใช้ผูกท่อนำไข่จากเดิม chromic cat gut เป็น plain cat gut no.2/0 ที่มีคุณภาพ การให้ข้อมูลโอกาสล้มเหลวในการผ่าตัดทำหมันหญิง กับ ผู้ป่วยและญาติ ขณะเยี่ยมประเมินความพร้อมก่อนการผ่าตัด
ผลลัพธ์ ยังพบมีการตั้งครรภ์หลังทำหมันหญิง 1 ราย ในปี 2553 จากจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 48 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.08%
ปัญหาที่พบจากการดำเนินงาน แพทย์ทำผ่าตัดเป็นแพทย์หมุนเวียน มีทักษะและความชำนาญน้อย - ขาดความตระหนัก
แนวทางการดำเนินงานแก้ไขปัญหาและปรับปรุงระบบ ครั้งที่ 2 แนวทางการดำเนินงานแก้ไขปัญหาและปรับปรุงระบบ ครั้งที่ 2
ผลลัพธ์ ตั้งแต่ ต.ค.2553-มิ.ย 2554 จำนวนผู้มารับบริการผ่าตัดทำหมันหญิง ทั้งหมด 19 ราย ไม่พบ การตั้งครรภ์หลังทำหมัน
แผนพัฒนาและการดำเนินงาน - แพทย์หมุนเวียนที่ต้องทำผ่าตัด ควรได้รับ การ training จากผู้ที่ชำนาญกว่า ส่งต่อแพทย์เฉพาะทาง กรณี การผ่าตัดทำ หมันล้มเหลว