บทที่ 6 การจัดการโครงการ Project Management ญาลดา พรประเสริฐ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพิจารณากิจกรรม(งาน)วิกฤติ(ต่อ)
Advertisements

การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ลิมิตและความต่อเนื่อง
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
ความหมายของการวางแผน
OpenProject รุ่นที่ มกราคม 2553 การเคหะแห่งชาติ อ
การวิเคราะห์ระบบและวิธีปฏิบัติงาน
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การเขียนผังงาน.
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
บทที่ 11 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
การวางแผนและการดำเนินงาน
การควบคุมข่ายงาน (PERT/CPM)
PDCA คืออะไร P D C A.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
SCC : Suthida Chaichomchuen
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
Civil Engineering and Construction Management การบริหารการก่อสร้าง
การควบคุม.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การบริหารโครงการ (Project anagement)
Process Analysis 2 การวิเคราะห์กระบวนการ
การวิเคราะห์ขบวนการผลิต (Process Analysis)
การบริหารจัดการอัตรากำลัง
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
การวิเคราะห์ Competency
มาตรฐานทางการเงิน 7 ด้าน
System Development Lift Cycle
บทที่ 3 Planning.
วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Node.
วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Arrow.
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
Week 5 : การบริหารโครงการ
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ซีเควนซ์ไดอะแกรม(Sequence Diagram)
การเร่งโครงการ Expedite Project.
หลักการแก้ปัญหา
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
Shortest-Path Algorithms
PERT/CPM.
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การสร้างสรรค์บทละคร.
การกำหนดโครงการ (Project Scheduling: PERT / CPM)
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
การสร้างสื่อ e-Learning
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การบริหารโครงการด้วย PERT & CPM
บทที่ 6 การกำหนดเวลางานโครงการ
Controlling 1.
บทที่ 2 การวางแผนและการบริหารโครงการ (Project Planning and Management)
บทที่ 7 การควบคุม (Controlling).
บทที่ 7 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM
Project Management การวางแผนและการควบคุมโครงการด้วยเทคนิค PERT และ CPM
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 6 การจัดการโครงการ Project Management ญาลดา พรประเสริฐ

บทนำ การจัดการโครงการถือเป็นเรื่องที่สำคัญ เพราะเกี่ยวข้องกับ ทรัพยากรและเงินลงทุนมหาศาล จึงต้องมีการวางแผนอย่าง เป็นระบบ และต้องหาวิธีการเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการ วางแผนและควบคุมเพื่อช่วยในการอำนวยความสะดวก

ความหมาย การดำเนินการตามกระบวนการของกิจกรรม(วางแผน ชี้แนะ ติดตาม ควบคุมโครงการ) โดยแต่ละกิจกรรมจะมีวันเริ่มต้นและสิ้นสุด ภายใต้ระยะเวลา ทรัพยากรและเงินลงทุนที่กำหนดไว้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

หน้าที่ความ รับผิดชอบ ผู้บริหารโครงการ ความเป็นผู้นำ การจัดการ แก้ไขปัญหา บริหารทีมงาน กำหนดขอบเขต ของโครงการ การวางแผนงาน จัดตารางการ ดำเนินงาน กำกับและควบคุม โครงการ หน้าที่ความ รับผิดชอบ ทักษะ

CPM/PERT เทคนิคที่ใช้ในการวางแผนกำหนดงาน (Scheduling)และการควบคุม (Controlling)เรียกว่าการวิเคราะห์สายงาน วิกฤติ (Critical Path Analysis)ซึ่งมีเทคนิคที่ นิยมใช้กันคือ CPM(Critical Path Method)และ (Program Evaluation and Review Technique)

CPM (Critical Path Method) 1. CPM เป็นเครื่องมือในการวางแผน(Planning) การกำหนดเวลางาน(Scheduling) การควบคุม (Controlling) 2. ผู้วางแผนต้องมีประสบการณ์ในการ ทำงานมาเป็นอย่างดี 3. ทราบรายละเอียดเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายและ ทรัพยากรต่างๆของแต่ละงาน 4. เวลาที่ใช้ในการทำงานแน่นอน

PERT (Program Evaluation and Review Technique) ใช้ในการปรับปรุงวิธีการวางแผนงานและ ประเมินโครงการใหม่ๆ ผู้วางแผนไม่เคยมีประสบการณ์ในการทำงาน ระหว่างการปฏิบัติงานมักมีการเปลี่ยนแปลงใน รายละเอียดงานบ่อยๆ เน้นความสำคัญที่เหตุการณ์ งานแต่ละงานมีเวลาที่ไม่แน่นอน เป็นโครงการใหม่ที่ไม่เคยทำมาก่อน

ศึกษารายละเอียดโครงการ ขั้นตอนของ PERT/CPM PERT/CPM ศึกษารายละเอียดโครงการ สร้างข่ายงาน วิเคราะห์ข่ายงาน

วิธีการสร้างขอบข่ายงาน กิจกรรมบนเส้นเชื่อม (Activity on Arrow) กิจกรรมบนจุดเชื่อม (Activity on Node) A A

กฎการเขียนขอบข่ายงาน กฎข้อที่ 1 ก่อนกิจกรรมใดๆ จะเริ่มต้นกิจกรรมที่อยู่ก่อนหน้า ต้องทำสำเร็จหมดทุกกิจกรรมก่อน A C 2 1 4 B 3

กฎการเขียนข่ายงาน A C B กฎข้อที่ 2 ความยาวของลูกศรไม่แสดงระยะเวลาของกิจกรรม A C 1 4 2 B 3

กฎการเขียนขอบข่ายงาน กฎข้อที่ 3 หมายเลขในข่ายงานเดียวกันต้องไม่ซ้ำกัน และเรียงจากน้อยไปหามาก A B C 1 2 3 4

กฎการเขียนข่ายงาน C A D B กฎข้อที่ 4 เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นพร้อมกัน จะสิ้นสุดพร้อมกันไม่ได้ C A D 1 2 3 4 B

กฎการเขียนข่ายงาน วิธีแก้ไข C A D B กฎข้อที่ 4 เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นพร้อมกัน จะสิ้นสุดพร้อมกันไม่ได้ วิธีแก้ไข 2 C A D 1 2 3 4 B

กฎการเขียนข่ายงาน C E A F B D G กฎข้อที่ 5 เหตุการณ์เริ่มต้นเพียงจุดเดียว และมีเหตุการณ์สิ้นสุดเพียงจุดเดียว C E 2 3 A 4 F 1 4 B D 2 3 G

กฎการเขียนข่ายงาน B C A A ผิด กฎข้อที่ 6 ไม่ควรเขียนลูกศรเป็นเส้นโค้ง 3 1 2 4 A ผิด

กฎการเขียนข่ายงาน วิธีแก้ไข 2 A C 2 3 B

กฎการเขียนโครงข่ายงาน กฎข้อที่ 7 ไม่ควรเขียนโครงข่ายงานซ้อนกันหรือทับกัน 2 E A B 1 3 D C 2

ตัวอย่างการเขียนโครงข่ายงานและกิจกรรมหุ่น A C D 1 2 3 Act B_Act A B C D E - B , C 5 B E 4

ตัวอย่างการเขียนข่ายงานและกิจกรรมหุ่น 2 D Act B_Act A B C D E F - A,B B,C A B E 1 3 5 C F 4

ตัวอย่างการเขียนข่ายงานและกิจกรรมหุ่น 2 Act B_Act A B C D E F - A,B B,C D A B E 1 3 5 5 C F 4

ตัวอย่างการเขียนโครงข่ายงานและกิจกรรมหุ่น C 2 5 Act B_Act A B C D E - A,B E A 1 5 B D 4

การคำนวณหาเส้นทางวิกฤต เทคนิค CPM เทคนิค PERT

สายงานวิกฤต สายงานวิกฤต (Critical Paths) จะพิจารณาจากสายงานที่มีเวลานาน หรือยาวที่สุด ซึ่งในที่นี้คือสายงาน 1-2-3-7 รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 8 วัน นั้นหมายถึง การดำเนินงานทุกอย่างในแต่ละขั้นตอนจะแล้วเสร็จภายใน 8 วัน โดยในโครงการอาจมีสายงานวิกฤตมากกว่า 1 สายงานก็เป็นได้

เทคนิค CPM ขั้นตอนแรก เรียกว่า การเดินหน้า(Forward Pass) เริ่มจากโหนด เริ่มต้น(Start node) เคลื่อนที่ไปสู่โหนดสุดท้าย(end node) แสดงถึง เวลาเริ่มต้นที่เร็วที่สุด(Earliest Start Time : ES) ขั้นตอนที่สอง เรียกว่า การถอยหลัง(Backward Pass) เริ่มจากโหนด สุดท้าย(End node) ถอยหลังไปยังโหนดเริ่มต้น(Start node) แสดง ถึงเวลาที่เสร็จช้าที่สุด(Latest Finish Time : LF)

การคำนวณการเดินหน้า(Forward Pass) เริ่มต้นทำงานจากโนดแรก ESi = 0 หาเวลาเริ่มต้นที่เร็วที่สุดที่โหนด j(ESj) จากสูตร Esj = max(Esi + tij)

สูตรคำนวณ(S) ส่วนที่เป็นการกำหนดเวลาไป ข้างหน้า(Forward Pass) ESij = max(ESi + tij) EFij = (ESi + tij)

ES LF EF LS 3 LF 8 LF 14 LF 20 LF LF 23 LF 2 LF 6 LF

สูตรคำนวณ(S) ส่วนที่เป็นการกำหนดเวลาย้อนหลัง(Backward Pass) LFij = min(LFi - tij) LSij = (LFi - tij)

ES LF 3 5 8 10 14 14 20 20 23 23 2 2 6 6

node ชื่องาน เวลางาน เริ่มเร็วที่สุด ES เสร็จเร็วที่สุด EF เริ่มช้าที่สุด LS เสร็จช้าที่สุด LF 1 – 2 * 1 – 3 2 – 4 * 3 – 5 2 – 5 * 5 – 6 4 – 6 4 – 7 * 6 – 7 * 7 – 8 A B C D dummy E F G H 3 2 5 4 8 6 14 20 12 23 10 * งานที่อยู่ในสายงานวิกฤต

1 ES = 0 LS = 2 EF = 3 LF = 5 t = 3 S = 2 ES = 3 LS = 5 EF = 8 LF = 10 D 1 2 4 3 5 6 7 8 A ES = 0 LS = 2 EF = 3 LF = 5 t = 3 S = 2 C ES = 3 LS = 5 EF = 8 LF = 10 t = 5 S = 2 B t = 2 ES = 0 LS = 0 EF = 2 LF = 2 S = 0 t = 4 ES = 2 LS = 2 EF = 6 LF = 6 E t = 8 ES = 6 LS = 6 EF = 14 LF = 14 G t = 6 ES = 14 LS = 14 EF = 20 LF = 20 H t = 3 ES = 20 LS = 20 EF = 23 LF = 23 F ES = 8 LS = 10 EF = 12 LF = 14 S = 2 T = 23 วัน

การคำนวนของ PERT วิธีการที่ใช้โดยทั่วไป คือ ตั้งสมมติฐานรูปแบบความน่าจะเป็นของงานต่าง ๆ จากคุณสมบัติพิเศษของรูปแบบความน่าจะเป็นซึ่งมีการกระจาย แบบเบตา(beta distribution) จะมีลักษณะดังนี้ คือ มีโนดเพียงโนดเดียว และมีขอบเขตของข้อมูลต่ำสุด และสูงสุด ดังนั้น ในการคาดคะเนเวลาที่ใช้ในการทำงานจะต้องมีข้อมูลเวลาในการทำงาน 3 ค่า คือ เวลาที่เร็วที่สุดที่ใช้สำหรับงานนั้น (optimistic time estimate) , a เวลาที่ช้าที่สุดที่ใช้สำหรับงานนั้น (pessimistic time estimate), b เวลาของงานซึ่งเป็นไปได้ มากที่สุดสำหรับงานนั้น (most likely time estimate), m

สามารถคำนวณได้จากสูตรดังนี้ คือ(Chase, Aquilano, Jacobs, 2001, p.78) เวลาที่คาดว่าจะใช้ในการทำกิจกรรม te = te = เวลาเฉลี่ย (average time)  = S = ส่วนค่าความแปรปรวน (variance) V ของงานมีค่าเท่ากับ S2 หรือ 2 ดังนั้น V = 2 =

หลังจากนั้น นำค่า Z ที่คำนวณได้ไปเปิดตารางมาตรฐาน (standard normal) = หลังจากนั้น นำค่า Z ที่คำนวณได้ไปเปิดตารางมาตรฐาน (standard normal) เราจะทราบค่าความน่าจะเป็นในการแล้วเสร็จของโครงการในวันที่ D

ตัวอย่างที่ 6.2 การวิเคราะห์โครงการด้วยวิธี PERT ซึ่งสมมติว่าเป็นโครงการจัดงานแสดงสินค้าของนักศึกษาโดยมีประธานการจัดการได้รวบรวมข้อมูล และกำหนดขั้นตอนในการดำเนินงานดังสรุปได้ในตารางที่ 6.2

3 3 8 8 14 14 5 7 21 21 27 27 10 10

การเร่งโครงการ สายงานวิกฤต คือ สายงานที่มีระยะเวลานาน ซึ่งถือเป็นสายงานที่มีความสำคัญ หากงานหรือกิจกรรมภายในสายงานวิกฤตช้ากว่าที่กำหนดไว้ในโครงการ นั่นหมายถึง โครงการก็จะเสร็จล่าช้าไปด้วย ดังนั้นการควบคุมโครงการจึงมีความจำเป็นต้องควบคุมกิจกรรมในสายงานวิกฤตให้เป็นไปตามที่ได้วางแผนไว้

จบแล้วจ้า