งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การควบคุมข่ายงาน (PERT/CPM)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การควบคุมข่ายงาน (PERT/CPM)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การควบคุมข่ายงาน (PERT/CPM)
น.อ. วุฒิชัย ชินไชยมงคล

2 การบริหารโครงการด้วย เทคนิค CPM /PERT
ส่วนประกอบของการบริหารโครงการ งานย่อยหรือกิจกรรมย่อย กำหนดขั้นตอนของงานย่อย : ตามลำดับก่อนหลังหรือ ทำพร้อมกัน ระยะเวลาของแต่ละงาน

3 เทคนิคที่ใช้วิเคราะห์โครงการ
Gantt Chart CPM (Critical Path Method) PERT (Program Evaluation and Review Technic)

4 วัตถุประสงค์การใช้ PERT/CPM
ช่วยวางแผนโครงการ : คำนวณเวลาการดำเนินงานของงานย่อย ช่วยควบคุมโครงการ : ดำเนินงานตามแผนที่กำหนดไว้ ช่วยบริหารทรัพยากรที่ใช้ในโครงการ : คน เครื่องมือ ช่วยบริหารโครงการ : เร่งโครงการต้องเร่งกิจกรรมใด เพิ่มทรัพยากรเท่าไร

5 ความหมายของคำศัพท์ที่ใช้ใน PERT/CPM
งานย่อยหรือกิจกรรมย่อย ใช้สัญญลักษณ์ เหตุการณ์ ใช้สัญญลักษณ์ แทนจุดเริ่มต้น ของงาน หรือจุดสิ้นสุดของงาน งานเทียม ใช้สัญญลักษณ์ เป็นงานที่ ไม่ได้ปฏิบัติงานจริง ใช้แสดงความต่อเนื่องของงาน

6 ขั้นตอนของ PERT/CPM (1)
ศึกษารายละเอียดของโครงการ กระจายกิจกรรม รวบรวมข้อมูล พิจารณาทั้งโครงการมีกี่กิจกรรม กำหนด ลำดับการทำงาน ของกิจกรรม ลำดับที่ ทำก่อน-ทำหลังหรือทำพร้อมกัน ประมาณเวลาหรือคำนวณเวลา การดำเนินงานของ แต่ละกิจกรรม

7 ขั้นตอนของ PERT/CPM (2)
การสร้างข่ายงานเป็นแผนภาพลูกศร กิจกรรมบนเส้นเชื่อม ประกอบด้วย 1 กิจกรรม (A) และ 2 เหตุการณ์ เช่น A กิจกรรมบนจุดเชื่อม เช่น A B 3. ทิศทางของลูกศรแสดงความต่อเนื่องของกิจกรรม

8 กฎเกณ์การสร้างข่ายงาน
ข่ายงานต้องมีจุดเริ่มต้นโครงการเพียงจุดเดียวและจุดสิ้นสุดโครงการเพียงจุดเดียว งานหรือกิจกรรมแทนด้วยเครื่องหมายลูกศรเพียงอันเดียว งาน 2 งานที่เริ่มต้นที่เหตุการณ์เดียวกัน จะสิ้นสุดที่เหตุการณ์เดียวกันไม่ได้ เส้นลูกศรที่แทนงานหรือกิจกรรมต้องเป็นเส้นตรง ความยาวของลูกศรไม่ได้แทนระยะเวลาการทำงาน เลขที่ลำดับเหตุการณ์ไล่จากซ้ายไปขวา

9 หัวข้อการวิเคราะห์ข่ายงาน
1. โครงการมีกิจกรรมใดบ้าง 2. ลำดับความต่อเนื่องของกิจกรรม 3. กำหนดเวลาหรือคำนวณเวลาเฉลี่ยการทำงานของกิจกรรมต่าง ๆ 4. กิจกรรมใดเป็นกิจกรรมวิกฤต (Critical activity) 5. กิจกรรมใดไม่เป็นกิจกรรมวิกฤต 6. โครงการที่ใช้ CPM คือโครงการที่รู้เวลาการทำงานของกิจกรรม 7. โครงการที่ใช้ PERT คือโครงการที่ต้องคำนวณเวลาเฉลี่ยของกิจกรรม

10 ชื่อเรียกเวลาต่าง ๆของงานหรือกิจกรรมย่อย
เวลาเริ่มต้นทำงานที่เร็วที่สุด (Earliest Start ตัวย่อคือ ES) เวลาที่ทำงานเสร็จเร็วที่สุด (Earliest Finish ตัวย่อคือ EF) เวลาที่เริ่มต้นทำงานช้าที่สุด แต่ไม่ทำให้โครงการล่าช้า (Latest Start ตัวย่อคือ LS) เวลาที่ทำงานเสร็จช้าที่สุด แต่ไม่ทำให้โครงการล่าช้า (Latest Finish ตัวย่อคือ LF)

11 การคำนวณหาเวลาเริ่มต้นเร็วที่สุดและเวลาเสร็จเร็วที่สุด
การคำนวณหา ES และ EF จะเริ่มจากเหตุการณ์แรกของโครงการจากทางซ้ายไปทางขวาจนถึงเหตุการณ์สุดท้ายของโครงการ ES=เวลาเริ่มต้นเร็วที่สุด EF=เวลาเสร็จเร็วที่สุด EF = ES + t ( t = เวลาที่ใช้ทำงานแต่ละงาน ) A(3) 3 3 B(6) 9 2 3 1 งาน A เวลาเสร็จเร็วที่สุดคือ EF = = 3 (ES = 0 , t = 3) งาน B เวลาเสร็จเร็วที่สุดคือ EF = = (ES = 3 , t = 6)

12 ตัวอย่างข่ายงานโครงการงานย่อย 10 งานจากตารางหน้า 8
A(4) = งาน A ใช้เวลาทำงาน 4 สัปดาห์ D(1) 8 E(3) I(3) 4 6 J(2) F(1) C(5) 5 1 2 3 7 9 A(4) B(3) H(1) G(1)

13 ตัวอย่าง การคำนวณค่า ES และ EF จาก ตารางหน้า 8
เหตุการณ์ เริ่มจากซ้ายไปขวา 1 2 9 งาน 10 8 D(1) งานเทียม 15 15 เวลาเริ่มต้นงาน t=0 9 12 12 I(3) 9 E(3) 4 6 9 9 J(2) F(1) 10 C(5) 5 17 4 4 4 7 7 8 8 9 1 2 3 7 9 A(4) B(3) G(1) H(1)

14 การคำนวณหาเวลาเริ่มต้นช้าที่สุดและเวลาเสร็จช้าที่สุด
การคำนวณหา LS และ LF จะเริ่มจากเหตุการณ์สุดท้ายของโครงการ จากทางขวาไปทางซ้ายจนถึงเหตุการณ์แรกสุดของโครงการ LS= เวลาเริ่มต้นช้าที่สุด LF= เวลาเสร็จช้าที่สุด LS = LF - t (t = เวลาทำงานของกิจกรรม) งาน B เวลาเริ่มต้นช้าที่สุดคือ LS = = 3 (LF = 9 , t=6) งาน A เวลาเริ่มต้นช้าที่สุดคือ LS = = 0 (LF = 3 , t=3) 1 A(3) 3 3 B(6) 9 3 2

15 ตัวอย่างข่ายงานโครงการงานย่อย 10 งานจากตารางหน้า 8
A(4) = งาน A ใช้เวลาทำงาน 4 สัปดาห์ D(1) 8 E(3) I(3) 4 6 J(2) F(1) C(5) 5 1 2 3 7 9 A(4) B(3) H(1) G(1)

16 ตัวอย่าง การคำนวณค่า LS และ LF จาก ตารางหน้า 8
เหตุการณ์เริ่มจากขวาไปซ้าย 9 8 1 งาน 15 งานเทียม 8 D(1) 15 เวลาเสร็จงานสุดท้าย t=17 15 14 12 9 E(3) 12 I(3) 4 6 9 11 J(2) F(1) 12 C(5) 5 17 4 4 6 9 15 16 16 17 1 2 3 7 9 A(4) B(3) G(1) H(1)

17 *** เส้นทางวิกฤต คือ เส้นทางที่ใช้เวลาดำเนินงาน โครงการมากที่สุด
*** เส้นทางวิกฤต คือ เส้นทางที่ใช้เวลาดำเนินงาน โครงการมากที่สุด 10 A-C-E-I-J 8 D(1) 15 15 9 12 12 I(3) 9 E(3) 4 6 9 9 J(2) F(1) 10 C(5) 5 17 4 4 4 7 7 8 8 9 1 2 3 7 9 A(4) B(3) G(1) H(1) *** งานวิกฤต คือ งานที่อยู่ในเส้นทางวิกฤตทุกงาน

18 * เวลาเหลือ (Slack Time) คือเวลาที่เริ่มต้นดำเนินการของงานใด ๆสามารถเลื่อนระยะเวลาออกไปได้ โดยที่ไม่ทำให้กำหนดการเสร็จสิ้นโครงการต้องล่าช้าหรือเลื่อนออกไป * เวลาเหลือแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ เวลาเหลือทั้งหมด (Total Float) เป็นเวลาเหลือ สูงสุดที่เลื่อนออกไปได้ ไม่ทำให้โครงการล่าช้า TF = LS - ES หรือ TF = LF - EF เวลาเหลืออิสระ (Free Float) เป็นเวลาเหลือที่ เลื่อนการเริ่มต้นงานนั้น ไม่กระทบงานที่ต่อเนื่อง

19 งาน เวลา ES EF LS LF เวลาเหลือ งานวิกฤต
A B C D E F G H I J 4 3 5 1 2 4 9 7 8 12 15 4 7 9 10 12 8 15 17 6 4 14 9 11 15 16 12 4 9 15 12 16 17 2 5 8 $

20 งานที่มีเวลาเหลือ คือ งานที่ไม่ได้อยู่ในเส้นทางวิกฤต


ดาวน์โหลด ppt การควบคุมข่ายงาน (PERT/CPM)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google