ผู้วิจัย : นางนิตยา งามยิ่งยง วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ( สยามเทค )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้วิจัย นางสาวอาภรณ์ เทียนทอง สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
Advertisements

นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.

นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นางนุชนาฎ หิรัญ โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาทักษะการต่อวงจรการทำงานแบบอัตโนมัติกระบอกสูบแบบสองทางใน วิชางานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ โดยวิธีการใช้วงจรฝึกปฏิบัติพร้อมแบบประเมินผลของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.

นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานเบื้องต้นในการแกะสลักผักและผลไม้แบบร่วมมือกันของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาการโรงแรม ผู้วิจัย : นางสาวรุ่งราตรี
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
***นำเสนอผลงานวิจัย***
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
ศึกษาผลสัมฤทธิ์การใช้ ชุดฝึกเสริมทักษะรายวิชา บัญชีเบื้องต้น 1 สำหรับ นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปี ที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีระยอง บริหารธุรกิจ ผู้วิจัย.
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นางสาวกุลวีณ์ เกษมสุข ผู้วิจัย
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผู้วิจัย นายวราวุฒิ สาริกบุตร วิทยาลัย เทคโนโลยี ศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ด้วยวิธีทัศน ศึกษาแบบบูรณาการ รายวิชา งานห้องผ้าและ ซักรีด ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาการโรงแรม.
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ เรื่อง การบันทึกรายการซื้อขายสินค้าในสมุดรายวันทั่วไป โดยวิธี ใช้แบบฝึก ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
อริส ขวัญเสียงเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
โดย นางกุหลาบ พรหมจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เวอร์เนียร์ไฮเกจ ร่างแบบชิ้นงานโดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง ชั้นปีที่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้วิจัย : นางนิตยา งามยิ่งยง วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ( สยามเทค ) เรื่องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโครงการวิชาชีพ โดยการเรียนแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนสาขาการโรงแรม ผู้วิจัย : นางนิตยา งามยิ่งยง วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ( สยามเทค )

ปัญหาการวิจัย นักเรียนไม่เข้าเรียนสม่ำเสมอ เนื้อหามากและยาก การสอนจะต้องใช้เวลานานมากไม่เพียงพอต่อการเรียนในแต่ ละชั่วโมง จึงทำให้ผู้เรียนไม่เข้าใจ บางคนรู้สึกเบื่อหน่าย และ ไม่ค่อยสนใจหรือกระตือรือร้นที่จะเรียน ส่งผลให้ผู้เรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโครงการวิชาชีพ ไม่ดี

วัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนเพื่อเอื้อต่อการเรียนรู้ ความเข้าใจของ นักเรียน 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนการเรียนและหลัง การเรียนแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของกลุ่มทดลอง

ผังสรุปสำคัญ กลุ่มประชากรเป้าหมายคือ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปี3 ที่ ศึกษาวิชาโครงการวิชาชีพ สาขาการโรงแรม ในปีการศึกษา 2555 จำนวน 77 คน กลุ่มตัวอย่าง โดยการสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายจากประชากรเป้าหมายทั้งหมด ด้วยการเลือก จากนักศึกษาที่มีคะแนนสอบย่อยครั้งที่ 1 น้อยกว่า 5 คะแนน จำนวน 6 คน ความเข้าใจในเนื้อหาวิชาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนคะแนนสอบ การเรียนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Assisted Learning)

ผลคะแนนสอบย่อยครั้งที่ 1 ตารางที่ 1 รายชื่อนักเรียนที่สอบย่อยวิชาโครงการวิชาชีพครั้งที่ 1 ไม่ผ่าน ลำดับที่ รหัสนักศึกษา ชื่อ – นามสกุล ผลคะแนนสอบย่อยครั้งที่ 1 1 53178501 นางสาวเกษสีนี ชนะพาล 4 2 53178663 นางสาวพัชรี คงพึ่งทรัพย์ 3 53179226 นางสาวสุวรรณี มอมประโคน 53179272 นายชินดนัย กุลวิชา 5 53179281 นางสาวสิริมา ยะซัน 6 53178625 นายสรายุทธ ชัยสิทธิ์นุสรณ์ คะแนนเฉลี่ย (Mean) 2.5 จากกลุ่มประชากรเป้าหมายคือ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปี3 ที่ศึกษาวิชาโครงการวิชาชีพ สาขาการโรงแรม ในปีการศึกษา 2555 จำนวน 77 คน ผู้วิจัยได้ทำการสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายจากประชากรเป้าหมายทั้งหมดด้วยการเลือกจากนักศึกษาที่มีคะแนนสอบย่อยครั้งที่ 1 น้อยกว่า 5 คะแนน (จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน) หรือสอบไม่ผ่าน ได้กลุ่มตัวอย่างนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปี 3 ห้อง 10 จำนวน 6 คนดังแสดงในตารางที่ 1

ตารางที่ 2 การจับคู่ของกลุ่มตัวอย่างและเพื่อน ตอนเรียนวิชาโครงการวิชาชีพ ลำดับที่ กลุ่มตัวอย่าง ชื่อเพื่อน ผลคะแนนสอบย่อยครั้ง ที่ 1(ของเพื่อน) 1 นางสาวเกษสีนี ชนะพาล นางสาวนุชรี ฉายศรี 9 2 นางสาวพัชรี คงพึ่งทรัพย์ นางสาวหทัยรัตน์ สดธัญญา 7 3 นางสาวสุวรรณี มอมประโคน นางสาวรัชดาพร ลาภสนอง 8 4 นายชินดนัย กุลวิชา นางสาวรัชฎา ดีวัน 5 นางสาวสิริมา ยะซัน นายจิรภัทร เทียมนภาลัย 6 นายสรายุทธ ชัยสิทธิ์นุสรณ์ นางสาวศศธร กุลจิตติเกษม 10 คะแนนเฉลี่ย (Mean) 8.33 ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้การเรียนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน โดยให้กลุ่มตัวอย่างหาเพื่อนที่มีผล คะแนนสอบครั้งที่ 1 มากกว่า 5 คะแนน มาจับคู่เพื่อช่วยสอน อธิบาย ติว และเข้าปรึกษากับอาจารย์ ตลอดภาคเรียนที่ 1

ผลคะแนนสอบย่อยครั้งที่ 1 ผลคะแนนสอบย่อยครั้งที่ 2 ร้อยละการเปลี่ยนแปลง ตารางที่ 3 เปรียบเทียบคะแนนสอบย่อยครั้งที่ 1 กับครั้งที่ 2 ของกลุ่มตัวอย่างตอนเรียนวิชาโครงการวิชาชีพ ลำดับที่ กลุ่มตัวอย่าง ผลคะแนนสอบย่อยครั้งที่ 1 ผลคะแนนสอบย่อยครั้งที่ 2 การเปลี่ยนแปลง ร้อยละการเปลี่ยนแปลง 1 นางสาวเกษสีนี ชนะพาล 4 7 เพิ่มขึ้น 30 2 นางสาวพัชรี คงพึ่งทรัพย์ 3 8 50 นางสาวสุวรรณี มอมประโคน นายชินดนัย กุลวิชา 9 80 5 นางสาวสิริมา ยะซัน 10 70 6 นายสรายุทธ ชัยสิทธิ์นุสรณ์ 60 คะแนนเฉลี่ย (Mean) 2.5 8.16 56.66 จากตารางที่ 3 พบว่ามีนักเรียนจำนวน 6 คน จากกลุ่มตัวอย่างในการเรียนวิชาโครงการวิชาชีพ คิดเป็นคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 56.66 ที่มีผลคะแนนสอบดีขึ้น  

สรุปผลการวิจัย 1. นักเรียนกลุ่มตัวอย่างจำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 7.79 จากนักเรียนทั้งหมด 77 คน ที่จัดว่าเป็นนักศึกษาที่มีความสามารถทางการเรียนต่ำ (หรือร้อยละ 100 ของกลุ่มตัวอย่างสอบไม่ผ่าน) มีคะแนนเฉลี่ยของการสอบครั้งที่ 1 (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) ที่ 2.5 สำหรับการเรียนวิชาโครงการวิชาชีพ จับคู่กับ กลุ่มนักเรียนที่มีผลการเรียนสูงกว่า คือคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 8.33 เพื่อนช่วยสอน ตัวต่อตัวส่งผลให้คะแนนเฉลี่ยหลังการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนวิธีนี้ดีขึ้น ร้อยละ 56.66 2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการเรียนแบบเพื่อนช่วย เพื่อน ร้อยละ 100 ของกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเพิ่มขึ้น และร้อยละ 100 สามารถ สอบผ่านรายวิชาโครงการวิชาชีพทุกคน หรือหมายความว่าการเรียนรู้แบบ เพื่อนช่วยเพื่อน ช่วยให้นักศึกษาที่มีความสามารถทางการเรียนต่ำ สามารถ สอบผ่านตามเกณฑ์ประเมินผลรายวิชาโครงการวิชาชีพได้