ผู้วิจัย : นางนิตยา งามยิ่งยง วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ( สยามเทค ) เรื่องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโครงการวิชาชีพ โดยการเรียนแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนสาขาการโรงแรม ผู้วิจัย : นางนิตยา งามยิ่งยง วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ( สยามเทค )
ปัญหาการวิจัย นักเรียนไม่เข้าเรียนสม่ำเสมอ เนื้อหามากและยาก การสอนจะต้องใช้เวลานานมากไม่เพียงพอต่อการเรียนในแต่ ละชั่วโมง จึงทำให้ผู้เรียนไม่เข้าใจ บางคนรู้สึกเบื่อหน่าย และ ไม่ค่อยสนใจหรือกระตือรือร้นที่จะเรียน ส่งผลให้ผู้เรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโครงการวิชาชีพ ไม่ดี
วัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนเพื่อเอื้อต่อการเรียนรู้ ความเข้าใจของ นักเรียน 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนการเรียนและหลัง การเรียนแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของกลุ่มทดลอง
ผังสรุปสำคัญ กลุ่มประชากรเป้าหมายคือ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปี3 ที่ ศึกษาวิชาโครงการวิชาชีพ สาขาการโรงแรม ในปีการศึกษา 2555 จำนวน 77 คน กลุ่มตัวอย่าง โดยการสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายจากประชากรเป้าหมายทั้งหมด ด้วยการเลือก จากนักศึกษาที่มีคะแนนสอบย่อยครั้งที่ 1 น้อยกว่า 5 คะแนน จำนวน 6 คน ความเข้าใจในเนื้อหาวิชาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนคะแนนสอบ การเรียนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Assisted Learning)
ผลคะแนนสอบย่อยครั้งที่ 1 ตารางที่ 1 รายชื่อนักเรียนที่สอบย่อยวิชาโครงการวิชาชีพครั้งที่ 1 ไม่ผ่าน ลำดับที่ รหัสนักศึกษา ชื่อ – นามสกุล ผลคะแนนสอบย่อยครั้งที่ 1 1 53178501 นางสาวเกษสีนี ชนะพาล 4 2 53178663 นางสาวพัชรี คงพึ่งทรัพย์ 3 53179226 นางสาวสุวรรณี มอมประโคน 53179272 นายชินดนัย กุลวิชา 5 53179281 นางสาวสิริมา ยะซัน 6 53178625 นายสรายุทธ ชัยสิทธิ์นุสรณ์ คะแนนเฉลี่ย (Mean) 2.5 จากกลุ่มประชากรเป้าหมายคือ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปี3 ที่ศึกษาวิชาโครงการวิชาชีพ สาขาการโรงแรม ในปีการศึกษา 2555 จำนวน 77 คน ผู้วิจัยได้ทำการสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายจากประชากรเป้าหมายทั้งหมดด้วยการเลือกจากนักศึกษาที่มีคะแนนสอบย่อยครั้งที่ 1 น้อยกว่า 5 คะแนน (จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน) หรือสอบไม่ผ่าน ได้กลุ่มตัวอย่างนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปี 3 ห้อง 10 จำนวน 6 คนดังแสดงในตารางที่ 1
ตารางที่ 2 การจับคู่ของกลุ่มตัวอย่างและเพื่อน ตอนเรียนวิชาโครงการวิชาชีพ ลำดับที่ กลุ่มตัวอย่าง ชื่อเพื่อน ผลคะแนนสอบย่อยครั้ง ที่ 1(ของเพื่อน) 1 นางสาวเกษสีนี ชนะพาล นางสาวนุชรี ฉายศรี 9 2 นางสาวพัชรี คงพึ่งทรัพย์ นางสาวหทัยรัตน์ สดธัญญา 7 3 นางสาวสุวรรณี มอมประโคน นางสาวรัชดาพร ลาภสนอง 8 4 นายชินดนัย กุลวิชา นางสาวรัชฎา ดีวัน 5 นางสาวสิริมา ยะซัน นายจิรภัทร เทียมนภาลัย 6 นายสรายุทธ ชัยสิทธิ์นุสรณ์ นางสาวศศธร กุลจิตติเกษม 10 คะแนนเฉลี่ย (Mean) 8.33 ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้การเรียนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน โดยให้กลุ่มตัวอย่างหาเพื่อนที่มีผล คะแนนสอบครั้งที่ 1 มากกว่า 5 คะแนน มาจับคู่เพื่อช่วยสอน อธิบาย ติว และเข้าปรึกษากับอาจารย์ ตลอดภาคเรียนที่ 1
ผลคะแนนสอบย่อยครั้งที่ 1 ผลคะแนนสอบย่อยครั้งที่ 2 ร้อยละการเปลี่ยนแปลง ตารางที่ 3 เปรียบเทียบคะแนนสอบย่อยครั้งที่ 1 กับครั้งที่ 2 ของกลุ่มตัวอย่างตอนเรียนวิชาโครงการวิชาชีพ ลำดับที่ กลุ่มตัวอย่าง ผลคะแนนสอบย่อยครั้งที่ 1 ผลคะแนนสอบย่อยครั้งที่ 2 การเปลี่ยนแปลง ร้อยละการเปลี่ยนแปลง 1 นางสาวเกษสีนี ชนะพาล 4 7 เพิ่มขึ้น 30 2 นางสาวพัชรี คงพึ่งทรัพย์ 3 8 50 นางสาวสุวรรณี มอมประโคน นายชินดนัย กุลวิชา 9 80 5 นางสาวสิริมา ยะซัน 10 70 6 นายสรายุทธ ชัยสิทธิ์นุสรณ์ 60 คะแนนเฉลี่ย (Mean) 2.5 8.16 56.66 จากตารางที่ 3 พบว่ามีนักเรียนจำนวน 6 คน จากกลุ่มตัวอย่างในการเรียนวิชาโครงการวิชาชีพ คิดเป็นคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 56.66 ที่มีผลคะแนนสอบดีขึ้น
สรุปผลการวิจัย 1. นักเรียนกลุ่มตัวอย่างจำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 7.79 จากนักเรียนทั้งหมด 77 คน ที่จัดว่าเป็นนักศึกษาที่มีความสามารถทางการเรียนต่ำ (หรือร้อยละ 100 ของกลุ่มตัวอย่างสอบไม่ผ่าน) มีคะแนนเฉลี่ยของการสอบครั้งที่ 1 (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) ที่ 2.5 สำหรับการเรียนวิชาโครงการวิชาชีพ จับคู่กับ กลุ่มนักเรียนที่มีผลการเรียนสูงกว่า คือคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 8.33 เพื่อนช่วยสอน ตัวต่อตัวส่งผลให้คะแนนเฉลี่ยหลังการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนวิธีนี้ดีขึ้น ร้อยละ 56.66 2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการเรียนแบบเพื่อนช่วย เพื่อน ร้อยละ 100 ของกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเพิ่มขึ้น และร้อยละ 100 สามารถ สอบผ่านรายวิชาโครงการวิชาชีพทุกคน หรือหมายความว่าการเรียนรู้แบบ เพื่อนช่วยเพื่อน ช่วยให้นักศึกษาที่มีความสามารถทางการเรียนต่ำ สามารถ สอบผ่านตามเกณฑ์ประเมินผลรายวิชาโครงการวิชาชีพได้