การปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบในการทำงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
Advertisements

ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ โดย นางสาวพรรัมภา ชูรักษ์
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานหรือการบ้าน ของนักศึกษาระดับ ปวส
นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผู้วิจัย นายถนอมศักดิ์ บุญแฟง
นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ศึกษาการใช้สื่อ CAI ในการเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผู้วิจัย นาง นิภารัตน์ ทองโคตร กลุ่มวิชาพื้นฐาน
ผู้วิจัย : นางนิตยา งามยิ่งยง วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ( สยามเทค )
ชื่อเรื่อง การปรับพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาโดยใช้วิธีการเสริมแรงด้วยการให้คะแนนเพิ่มในรายวิชาการขายเบื้องต้น 2 ผู้วิจัย นายสุทธิวัฒน์ บุษบิล.
การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจต่อการเรียน
ผู้วิจัย : นายสิทธิชัย โกเสนตอ
ทัศนคติของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ผลงานวิจัยในชั้นเรียน โดย นางสาวแสงดาว บัวอินทร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทำงานด้านทักษะวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต กรณีศึกษา กิจกรรม การแข่งขัน การจัดแสดงสินค้ากลางแจ้ง.
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
เรื่องระบบจำนวน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
น.ส.ศุภวรรณ ภัทรคุปต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสุราษฎร์ธานี
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชา การบัญชีเบื้องต้น 2 นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 ห้อง 1 และ ห้อง 2 โดยใช้เทคนิคการสอนการสอนแบบระดมพลังสมอง.
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.
โดย นางสาวสารภี ศุระศรางค์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
วิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน เพื่อปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบในการทำงาน ของนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง3101 โดยใช้การส่งงาน10ลำดับแรก ผู้วิจัย นายธานี นิ่มเนตร ผู้วิจัย นายธานี นิ่มเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เจตคติที่ดีในการส่งงาน ปัญหาในการวิจัย ตัวแปรตาม -สาเหตุการไม่ส่งงาน -เสริมแรงโดยใช้การส่งงานแบบ 10อันดับแรก -เสริมสร้างเจตคติในการส่งงาน โดยการใช้คำพูดเสริมแรง ให้คำชมเชย และให้คะแนนเต็ม กับ10อันดับแรก ตัวแปรต้น การส่งงาน การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เจตคติที่ดีในการส่งงาน

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติที่ดีในการส่งงานของนักศึกษาห้อง ชอ.3102 2. ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นมีความรับผิดชอบ ความกระตือรือร้น ตรงต่อเวลาในการทำงานและส่งงาน 3. เพื่อปรับพฤติกรรมการไม่ส่งงานของนักศึกษาห้อง ชอ.3102 4. เพื่อหาวิธีหรือแนวทางการแก้ปัญหาสำหรับนักศึกษาที่ไม่มีการปรับปรุงพฤติกรรม

ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาสาขางานอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาสาขางานอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 ห้อง ชอ.3101 จำนวน 21 คน

ลักษณะของเครื่องมือที่ใช้ 1. แบบสอบถามสาเหตุของการไม่ส่งงาน นักศึกษาห้อง ชอ.3101 2. การส่งเสริมเจตคติโดยการใช้วิธีการให้คะแนนแบบ10ลำดับแรก 3. การแจ้งผลคะแนนให้ทราบหลังการส่งงาน 4. การใช้คำพูดเสริมแรงสำหรับผู้ที่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

สรุปผลการวิจัย 1. สาเหตุส่วนใหญ่ ในการไม่ส่งงาน คือ แบบฝึกหัดยากทำไม่ได้ ไม่มีคนคอยให้คำปรึกษา การบ้านมากเกินไป ไม่เข้าใจคำสั่ง ครูอธิบายเร็ว เบื่อหน่ายไม่อยากทำ ไม่ได้นำสมุดมา ไม่น่าสนใจ 2. ในระยะที่1 จะพบว่า ส่งงานในเวลา เพียง 7 คน คิดเป็นร้อยละ33.33 ส่งงานหลังเวลาที่กำหนด 5 คน คิดเป็นร้อยละ 23.80% ไม่ส่งงาน 9 คนดิดเป็นร้อยละ 42.85%

สรุปผลการวิจัย (ต่อ) 3. หลังจากใช้วิธีการส่งงาน 10อันดับแรกผ่านไป3สัปดาห์ มีการส่งงานในเวลา 16 คนร้อยละ76.19% ส่งงานหลังเวลา 4 คน ร้อยละ19.04% ไม่ส่ง 1 คนร้อยละ 4.76% 4. ในระยะเวลาต่อมาจะปล่อยให้นักศึกษาทำงานตามปกติแต่จะให้แรงเสริมทางสังคมโดยการกล่าวคำชมเชย การสัมผัส และการพยักหน้า นักเรียนจะมีความเคยชินกับการรีบทำงานให้เสร็จและรับผิดชอบในการทำงานมากขึ้น และสามารถทำงานได้เสร็จตามกำหนดเวลาที่กำหนด

ข้อเสนอแนะการวิจัย 1. ครูผู้สอนควรศึกษาถึงเจตคติของนักศึกษาที่มีปัญหาด้านการส่งงานเป็นรายบุคคล 2. ในระหว่างปฎิบัติงานควรเอาใจใส่นักศึกษาอย่างใกล้ชิด และเปิดโอกาสให้สอบถามข้อสงสัยในระหว่างทำงาน 3. มีการแจ้งให้ทราบว่าถ้าส่งงานตามกำหนดจะได้อะไร และถ้าไม่ส่งตามกำหนด หรือไม่ส่งงานจะมีผลเสียอย่าไรทุกครั้งอย่างชัดเจน 4. มีการเสริมแรงเมื่อนักศึกษามีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ