การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

การประกันคุณภาพภายนอก
คณะกรรมการประกันคุณภาพฯ วจ
7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
เพื่อทบทวนระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
PMQA PMQA : STATUS ต่ำ กลาง สูง
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
ชื่อตัวบ่งชี้ : 6.1 ร้อยละของหลักสูตรที่ได้ มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด 1. จุดอ่อน 1. ยังมีเนื้อหาของบางรายวิชาในแต่ละหลักสูตร เกิดความซ้ำซ้อน 2. การจัดลำดับความสำคัญของรายวิชาในแต่ละ.
เพื่อรับการประเมินภายนอก
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
LOGO โครงการประชุมสัมมนาถ่ายทอดนโยบาย ของมหาวิทยาลัยสู่ ผู้บริหารระดับหัวหน้า ภาควิชา สาขาวิชา “70 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร : โอกาสและ ศักยภาพการเป็นผู้นำ.
พันธกิจและแนวทางพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพภายนอก โดยใช้รูปแบบกัลยาณมิตร
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา (Quality Assurance, QA)
แนวทางการปฏิบัติงานด้านประกันคุณภาพการศึกษา
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
PDCA คืออะไร P D C A.
การติดตาม และประเมินโครงการ.
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพภายในกอง แผนงาน ประจำปีการศึกษา 2551 วันที่ 20 กรกฎาคม 2552 โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน.
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
ระบบเอกสารคุณภาพ เนาวรัตน์ เสียงเสนาะ สอิด
1. ผู้บริหารและคณะกรรมการชุด ต่างๆ มีความมุ่งมั่นในการจัดทำ ระบบบริหารคุณภาพอย่างต่อเนื่อง และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ใน ระบบบริหารคุณภาพอย่างสม่ำเสมอ.
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
2 มิถุนายน อ. ศมณพร สุทธิบาก ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพและบริหารความเสี่ยง คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
การประกันคุณภาพ QUALITY ASSURANCE
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
CMU: UNIVERSITY OF EXCELLENCE
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
คณะกรรมการประกันคุณภาพฯ วจ.
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
การเตรียมความพร้อมกับการรองรับ การตรวจคุณภาพระบบใหม่ของห้องปฏิบัติการ
เวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว
หลักการเขียนโครงการ.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หน่วยที่ 3 การจัดทำรายงานการประเมิน
1 Quality Improvement Tract สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน )
เจตนารมณ์ตาม พรบ. การศึกษา 2542
แนวปฏิบัติที่ดีของ การประกันคุณภาพ การศึกษา. ที่องค์ประกอบ ผลการประเมิน ปี 52 ปี 53 ปี 54 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผน ดำเนินการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา

OBJECTIVE เป้าหมายของ IQA กระบวนการประเมิน IQA เทคนิคการประเมิน การเขียนรายงาน บทบาทหน้าที่และจรรยาบรรณ การประเมินคุณภาพผลการประเมิน

Paradiam shift มิติทั่วไป มิติสูงสุด QA คือ กระบวนการตรวจสอบประเมิน Quality ขึ้นอยู่กับทรัพยากร Indicator กำหนดสิ่งที่จะทำให้ได้คะแนนสูงสุด Assessor ต้องรู้ indicatorอย่างดี ก็เพียงพอ QA process - Fragment Final process คือ การสอนผ่าน (รับรอง) QA คือ กระบวนการเรียนรู้ เพื่อมุ่งสู่คุณภาพ Quality ขึ้นอยู่กับ teamwork, customer, CQI Indicator is life ยืดหยุ่นได้เพื่อมุ่งสู่ Goal Assessor ให้กำลังใจ สนับสนุน ยืนยัน กระตุ้นให้เกิดCQI เป็นกัลยาณมิตร QA process - holistic Final process คือ Quality culture

IQA vs EQA Principle ใครนำไปใช้ประโยชน์ ใช้มาตรฐานของใคร ความเหมือนที่แตกต่างในการพัฒนา

การประเมิน Internal assessment External assessment 1. เป้าหมายของสถาบัน 1. เป้าหมายของ ประเทศ มาตรฐานของสถาบัน ( +สกอ ) ตามพรบ. การศึกษาแห่งชาติ 2542 (โดยมีพรบ.การศึกษา 2542 เป็นมาตรฐานต่ำสุด) 2. ใช้ดัชนีชี้วัด+เกณฑ์ของ 2. ใช้ดัชนีชี้วัด+เกณฑ์ของ สมศ. สกอ 44 ตัว+ ดัชนีชี้วัดของสถาบัน (+กพร+องค์กรวิชาชีพ) 3. เพื่อพัฒนา-ให้สูงกว่าเดิม 3. เพื่อรับรอง-กำกับไม่ให้ต่ำกว่านี้ 4. ทุก 1 ปี 4. ทุก 5 ปี 5. โดยองค์กรภายในหรือต้นสังกัด 5. โดย องค์กรภายนอก :- สมศ

วัตถุประสงค์ของการประเมิน IQA 1. ประเมินระบบและกลไกขององค์ประกอบ 9 ด้าน 2. ประเมินผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ IQA 44 ตัว + ตามตัวบ่งชี้เพิ่มเติมของสถาบัน 3. ให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อพัฒนาคุณภาพ (จุดเด่น, จุดที่ต้องปรับปรุงและข้อเสนอแนะ)

การประเมินผล = การวัดผล + การตัดสินใจ ใครตัดสิน เพื่ออะไร จุดที่วัด วิธีการวัด ใครวัด เพื่อพัฒนาตนเอง เพื่อรับรองยืนยัน

การประเมินคุณภาพภายใน ดำเนินงานครบ 1 ปี – เขียน SAR ระดับ หน่วยงานย่อย ประเมินตนเอง ระดับ หน่วยงานย่อย --- ภายใน SAR/รายงานประจำปีระดับมหาวิทยาลัย (internal+external indicator) ตรวจสอบประเมินตนเองระดับมหาวิทยาลัย ---- ภายใน เตรียมความพร้อม+เชิญผู้ประเมินระดับภายนอก –สมศ&กพร&วิชาชีพ

Indicators ระดับมหาวิทยาลัย คณะ Library หน่วย Indicators ระดับคณะ/หน่วยงาน คณะ/หน่วยงาน ภาควิชา หน่วย ห้องสมุด Indicators ระดับภาค ภาควิชา อาจารย์ นักศึกษา หลักสูตร การเรียน การสอน การเงิน บริหาร ประเมินผล ห้องสมุด

แผนการประเมินคุณภาพภายใน ต้องนำผลการประเมิน ไปใช้ปรับปรุงการดำเนินงาน ได้ทันปีการศึกษาถัดไป 2. ส่ง SAR และรายงานผลการประเมินให้ สกอ + เผยแพร่ ภายใน 120 วัน นับจากสิ้นปีการศึกษา (เดือน กย.) Plan - ก่อนเริ่มปีการศึกษา Do - ดำเนินงานและเก็บข้อมูล (มิย.ปีปัจจุบัน-พค.ปีถัดไป) Check - ประเมินผล ช่วงเดือน มิย.ปีถัดไป-สค.ปีถัดไป Act - นำผลไปใช้ปรับปรุงและส่งรายงาน (เดือน กย.ปีถัดไป)

กระบวนการประเมินคุณภาพ การเตรียมการของผู้ประเมิน ก่อนวันประเมิน การดำเนินการประเมินในวันประเมิน การดำเนินการหลังวันประเมิน

ขั้นตอนการประเมินในวันประเมินจริง 1. ขั้นเตรียมการ-ประชุมก่อนการประเมิน 2. ขั้นการหาหลักฐานและยืนยันหลักฐาน 3. ขั้นสรุปข้อมูลและตัดสินผลตามเกณฑ์ 4. ขั้นการเขียนรายงาน 5. ขั้นการรายงานผลและให้ข้อมูลย้อนกลับ