โปรแกรมวิเคราะห์สมรรถนะด้านวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

ฐานข้อมูลที่ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ฐานข้อมูลนี้ให้บริการข้อมูลในรูปแบบของบทคัดย่อ (Abstract) แต่หากรายการใดเป็นรายการที่ปรากฏอยู่ในวารสารที่ห้องสมุดบอกรับในรูปของ.
หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
เกณฑ์การประเมินของ สกว.
การประกันคุณภาพ การศึกษา สาขาวิชา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
Innovative Solution Integration Co, Ltd
ตำแหน่งชำนาญการพิเศษ
รู้จัก TQF และแบบมคอ. จัดโดย งานการศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ACM คืออะไร หน้าจอหลัก
Page 1. Page 2 ประโยชน์ต่อการกำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดแนวทางหรือการ ปรับปรุงด้านบริหารจัดการ การเรียนการ สอน และดำเนินงานอื่นๆของมหาวิทยาลัย มีแนวทางการขอรับทุน.
การนำเสนอบทความ เรื่อง การจัดการคุณภาพอากาศภายในอาคาร
สรุป Web of Science โดย... จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การค้นหาค่า Impact Factor ของวารสาร ในฐานข้อมูล ISI
Graduate School Khon Kaen University
ชื่อโครงการ : (ภาษาไทย) การเปรียบเทียบสมรรถนะ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ภาษาอังกฤษ) Comparative Benchmarking.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
แนวทางการรายงานผลการ ดำเนินการ ตั้วบ่งชี้ที่ สกอ
สารสนเทศ ด้านการจัดการเรียน-การสอน
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของ ภาควิชาตามเกณฑ์ สกว. จาก ผลการประเมินภาควิชาฯ ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะ แพทยศาสตร์ 30 กรกฎาคม 2553.
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
โดย ศาสตราจารย์ ดร.ศิริชัย กาญจนวาสี ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา
สรุปประเด็นแนวปฏิบัติที่ดี ( Good Practice ) : ยุทธศาสตร์การเพิ่มจำนวนบทความวิจัย และ จำนวนการอ้างอิงในฐานข้อมูลวิจัยนานาชาติ 1. วิเคราะห์ baseline data.
การเพิ่มเติมผลงานวิจัย คณะวิทยาศาสตร์ ในเว็บไซต์
สายวิชาการ 58 คน ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2553 จำนวนคน.
ฐานข้อมูล Ebscohost Research Databases
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
ขั้นตอนที่ 3 จัดเตรียมแหล่งข้อมูล (Provide Resources)
การดำเนินงานด้านการบริการ
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
1. เข้าเว็บ scopus ( ตาม web address ของแต่ละมหาวิทยาลัยที่บอกรับเป็นสมาชิก )

การประชุมเชิงปฏิบัติการ
Management Information Systems
สรุปประเด็นหารือ.
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น RID INNOVATION 2011
เกณฑ์ (gain!?!)หมวด 7.
การประชุมผู้ประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2556 ครั้งที่ 1/2556 วันที่ 18 ตุลาคม
S and T Publications Narongrit Sombatsompop
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการ บริการวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีจำนวนกิจกรรม / โครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพ ในปีการศึกษา 2548 จำนวน 27 กิจกรรม ทั้งนี้
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การพัฒนาคุณภาพ งานวิจัย ของ ภาควิชาศัลยศาสตร์ ตามเกณฑ์ สกว.
สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 11 มกราคม น.
โครงการวิจัย การเปรียบเทียบสมรรถนะคณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น กับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Comparative Benchmarking of Faculty of Associated Medical.
รางวัลผลงานวิจัย คณะแพทยศาสตร์
การแถลงผลการประชุม เรื่อง
การศึกษาความพึงพอใจของ
สรุป Web of Science โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล Book Promotion & Service Co., Ltd. โดย จิรวัฒน์ พรหมพร
กลุ่มที่ 1 นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 ห้อง B วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
ระบบการบริหาร โครงการวิจัย คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การพัฒนาระบบสารสนเทศงานวิจัย ในคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การเขียนข้อเสนอโครงการ
โดย... จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โดย... จิรวัฒน์
Nanotechnology Cluster ภาคใต้ 1 โครงการพัฒนา นักวิจัยไทย ด้านวิทยาศาสตร์ เคมี และเภสัช ภาคใต้ ระยะที่ 2 แผน 5 ปี ( )
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การวิจัยในงานประจำ.
เทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์
การตรวจสอบบทความ จากฐานข้อมูล
งบประมาณและจำนวนโครงการ ปีงบประมาณ รวมทุกสายเฉพาะสายวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โปรแกรมวิเคราะห์สมรรถนะด้านวิจัย InCites SciVal & โปรแกรมวิเคราะห์สมรรถนะด้านวิจัย วันที่ 30 มกราคม 2558 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต โดย นายชัยสิทธิ์ อังคะปัญญาเดช, บรรณารักษ์ปฏิบัติการ, สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

InCites & SciVal เครื่องมือประเมินคุณภาพการวิจัย (Research Performance Evaluation) ที่สามารถวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัย จากบทความวิจัยที่ตีพิมพ์จากทั่วโลก โดยอ้างอิงบนฐานข้อมูล ISI Web of Science และ Scopus สามารถเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างบุคคล องค์กร ประเทศ สาขาที่ทำการวิจัย รวมถึง Benchmarking ซึ่งสามารถแสดงผลการเปรียบเทียบเป็นกราฟรูปแบบต่างๆ มหาวิทยาลัยที่มีผลงานตีพิมพ์งานวิจัยมากที่สุดในโลก 5 อันดับแรก (Incites)

InCites & SciVal 1. ข้อมูลจำนวนงานวิจัย (Publication) 2. ข้อมูลจำนวนการอ้างถึง (Citation) 3. ข้อมูลการตีพิมพ์ผลงานของนักวิจัย (Researcher) 4. การเปรียบเทียงานวิจัยทั้งในเชิง ปริมาณและคุณภาพ (Benchmarking) 5.ข้อมูลสาขาที่มีการทำวิจัย (Research Area) 6. ข้อมูลความร่วมมือระหว่างนักวิจัย และองค์กร (Collaboration) แสดงผล Research Area ของประเทศไทยในรูปแบบ Pie graph (SciVal)

: Publications มหาวิทยาลัยในประเทศไทยที่มีจำนวนการตีพิมพ์งานวิจัย มากที่สุดใน 5 อันดับแรก ระหว่างปี 2000-2014 จากข้อมูลจะพบว่า มหาวิทยาลัยมหิดลมีการตีพิมพ์ผลงานวิจัยมากที่สุดในระหว่างปี 2000-2014 หากเข้าไปดูในรายละเอียดจะพบว่าสาขาที่มีการอ้างถึงมากที่สุด คือ Infectious Diseases

: Citation Trend graph แสดงรายชื่อมหาวิทยาลัยในประเทศไทยที่มีผลงานวิจัยที่ถูกอ้างถึงมากที่สุด 5 อันดับแรก ในระหว่างปี 2010 - 2014 จากกราฟจะเห็นว่า จำนวนการอ้างถึงใน 2014 จะน้อยกว่าปี 2010-2013 ทั้งที่จำนวนการตีพิมพ์มากกว่า เนื่องจากงานวิจัยตีพิมพ์ในปี 2014 ทำให้จำนวนการอ้างถึงนั้นยังมีไม่มาก

: Researcher แสดงรายชื่อนักวิจัยของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 5 อันดับแรก ที่มีผลงานตีพิมพ์มากที่สุด ในระหว่างปี 2010 - 2014 จากข้อมูลจะพบว่า นักวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาตร์ที่มีการตีพิมพ์ผลงานวิจัยมากที่สุดในระหว่างปี 2010-2014 คือ Anucha Apisarnthanarak

: Benchmarking Trend graph เปรียบเทียบผลงานวิจัยสาขา Infectious Diseases ที่ถูกอ้างถึงในระหว่างปี 2010 – 2014 ของ 5 มหาวิทยาลัย จากข้อมูลในปี 2011 จะพบว่างานวิจัยในสาขา Infectious Diseases ของ Chiang Mai University นำไปอ้างถึงมากที่สุด

: Research Area Tree graph แสดงข้อมูลสาขางานวิจัยในประเทศไทยที่ถูกอ้างถึงมากที่สุด (Time Cited) ในระหว่างปี 2010 – 2014 จากข้อมูลจะพบว่างานวิจัยในสาขา Infectious Diseases ในประเทศไทยมีอ้างถึงมากที่สุด โดยรองลงมาเป็นสาขา Immunology

: Collaboration แสดงข้อมูลความร่วมมือในการศึกษาวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์กับสถาบันอื่นๆ ในระหว่างปี 2000 – 2014 จากข้อมูลจะพบว่า มีงานวิจัยร่วมกับมหาวิทยาลัยมหิดลมากที่สุดในระหว่างปี 2000-2014 หากเข้าไปดูในรายละเอียดจะพบว่าสาขาที่มีความร่วมมือกันมากที่สุด คือ Infectious Diseases

: Publications แสดงข้อมูลจำนวนการตีพิมพ์งานวิจัยของ Thammasat University ในระหว่างปี 2010 - 2014 จากข้อมูลจะพบว่าในปี 2013 มีจำนวนการตีพิมพ์งานวิจัยมากที่สุด

: Citation แสดงข้อมูลจำนวนการถูกอ้างถึงงานวิจัยของ Thammasat University ในระหว่างปี 2010 - 2014 จากข้อมูลในระหว่างปี 2010-2014 พบว่าในปี 2010 มีงานวิจัยมีการถูกอ้างถึง (Cited) มากที่สุด

: Researcher แสดงรายชื่อนักวิจัยของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 10 อันดับแรก ที่มีผลงานตีพิมพ์มากที่สุด ในระหว่างปี 2010 - 2014 จากข้อมูลจะพบว่า นักวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาตร์ที่มีการตีพิมพ์ผลงานวิจัยมากที่สุดในระหว่างปี 2010-2014 คือ Anucha Apisarnthanarak โดยมีจำนวนมากถึง 72 บทความ

: Benchmarking แสดงข้อมูลจำนวนการตีพิมพ์งานวิจัยระหว่าง ธรรมศาสตร์ เปรียบเทียบกับจุฬาลงกรณ์ฯและมหิดล ในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ในระหว่างปี 2007 - 2014 จากข้อมูลจะพบว่าระหว่างปี 2007-2014พบว่าจุฬาลงกรณ์ฯ ตีพิมพ์งานวิจัยด้าน วิศวกรรมศาสตร์ มากกว่ามหิดล และธรรมศาสตร์

: Research Area Pie Graph แสดงข้อมูลสาขางานวิจัยของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่มีการตีพิมพ์เป็นเปอร์เซ็น ในระหว่างปี 2010 – 2014 จากข้อมูลจะพบว่าระหว่างปี 2010-2014พบว่ามีการตีพิมพ์งานวิจัยด้าน Medicine มากที่สุด คือ 19.1%

: Collaboration แสดงข้อมูลความร่วมมือในการศึกษาวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์กับมหาวิทยาลัยมหิดลในระหว่างปี 2010 – 2014 จากข้อมูลจะพบว่า มีงานวิจัยร่วมกันกว่า 175 งาน ในระหว่างปี 2010–2014 หากเข้าไปดูในรายละเอียดจะพบว่า สาขาด้าน General Medicine มีความร่วมมือระหว่างกันมากที่สุดคิดเป็น 16.4%

1. ในระหว่างปี 2010 – 2014 มธ. มีการตีพิมพ์ผลงานวิจัยจำนวนเท่าใด 2 1. ในระหว่างปี 2010 – 2014 มธ. มีการตีพิมพ์ผลงานวิจัยจำนวนเท่าใด 2. สาขาวิชาใดที่มีการตีพิมพ์มากที่สุดของ มธ. 3. สาขาวิชาใดที่มีการอ้างถึงมากที่สุดของ มธ. 4. นักวิจัยที่ตีพิมพ์ผลงานมากที่สุดของ มธ. 5. นักวิจัยที่ถูกอ้างถึงผลงานมากที่สุดของ มธ. 6. หน่วยงาน / สถาบัน ที่มีความร่วมมือกับ มธ. มากที่สุด 7. งานวิจัยในสาขาใด ที่มีการอ้างถึง มากที่สุดของ มธ. 8. มหาวิทยาลัยใดที่มีความโดดเด่นทางด้าน .... มากที่สุด 9. แนวโน้มในการศึกษาวิจัยขณะนี้ด้านใดที่มีความโดดเด่น หรือมี Impact มากที่สุดในโลก 10. ประเทศที่มีความร่วมมือในการทำวิจัยร่วมกับ มธ. มากที่สุด ถาม-ตอบ