เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Advertisements

นางสาวพรศิริ กลิ่นบำรุง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ์ ฯ
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางสาวเบญจนี สุคันธเมศวร์
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การประกวดแข่งขันผลงานวิจัย และนวัตกรรมสื่อสารสอนทางอาชีวศึกษา
การประเมินพฤติกรรมการ เรียนของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.2 ) สาขาการตลาด ปี การศึกษา 2555 ผู้วิจัย นายฉัตรชัย ภักดีนอก ตำแหน่ง อาจารย์ประจำฝ่ายวิชาการ.
อาจารย์ชนิศา แจ้งอรุณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
ผู้วิจัย นาง นิภารัตน์ ทองโคตร กลุ่มวิชาพื้นฐาน
เรื่อง การแก้ปัญหาการเรียนรู้ การวัดการกระจายสัมบูรณ์ โดยใช้วิธีทำแบบฝึกหัดทบทวน และทดสอบหลังบทเรียนของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ชื่องานวิจัยในชั้นเรียน การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาการบัญชีชั้นกลาง 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ผู้วิจัย นางระเบียบ คุณากร วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
การแก้ปัญหาการขาดเรียน ในรายวิชาโครงการ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี
การแก้ไขพฤติกรรมการแต่งกาย
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง วิชาการขาย 2 เรื่องกระบวนการขายของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
โดย นางสาวจิตรอุษา อ่องเอี่ยม วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (สยามเทค)
นางสาวกุลวีณ์ เกษมสุข ผู้วิจัย
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
รายงานการวิจัย เรื่อง
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ด้วยวิธีทัศน ศึกษาแบบบูรณาการ รายวิชา งานห้องผ้าและ ซักรีด ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาการโรงแรม.
การพัฒนาพฤติกรรมการกล้าเสดงออก โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ในรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 แผนกการตลาด.
นายศิวรุจน์ ศรีแจ่มใส
เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์หนังสือราชการภายนอก ในรายวิชาพิมพ์ไทยด้วยคอมพิวเตอร์ 2 โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอน แบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักศึกษา ระดับ.
น.ส.ศุภวรรณ ภัทรคุปต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสุราษฎร์ธานี
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.
โดย นางสาวสารภี ศุระศรางค์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์

ที่มาและความสำคัญของปัญหา กำหนดประเด็นในการวิจัยเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปัญหากับผู้เรียน สภาพปัญหา นักศึกษาส่วนหนึ่งไม่ส่งมอบงานตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ได้ ส่งผลต่อพฤติกรรมนักศึกษาสำหรับวิชาอื่นๆ รายวิชาจิตวิทยามนุษย์เชิงธุรกิจ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องพฤติกรรม มีเจตคติที่ดี มีกิจนิสัยที่ดี มีจริยธรรมในการทำงาน ร่วมกับผู้อื่นได้

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรม ความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย สำหรับผู้เรียน เพื่อเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีพฤติกรรมความรับผิดชอบในการส่งงานมากขึ้น มีระเบียบวินัย และเข้าใจบทเรียนมากขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกทำแบบฝึกหัดเพื่อทบทวนบทเรียน และยังเป็นการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางเรียนให้กับผู้เรียน เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนเห็นความสำคัญและสนใจการเรียนมากขึ้น สำหรับผู้สอน เพื่อให้สามารถนำวิธีการดังกล่าวมาเป็นแนวทางในการปรับพฤติกรรมผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีขึ้น สำหรับวิทยาลัย เพื่อให้วิทยาลัยได้นักศึกษาที่มีความระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบ ต่องานที่ได้รับมอบหมาย และมีผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาที่ดีขึ้น

นวัตกรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหา การเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement) หมายถึง การเสริมแรงที่มีผลทำให้พฤติกรรมที่ได้รับการเสริมแรงนั้นมีความถี่เพิ่มขึ้น ในขณะที่การให้รางวัลเป็นการให้ต่อพฤติกรรมที่บุคคลทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งตามวาระและโอกาสที่สำคัญ โดยไม่จำเป็นว่าต้องทำให้พฤติกรรมนั้นมีความถี่เพิ่มขึ้น ทฤษฎีการเสริมแรง (Reinforcement Theory) “Skinner” เป็นทฤษฎีที่อยู่บนพื้นฐานทางพฤติกรรมแห่งการจูงใจ ใช้หลักการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ และเห็นว่าพฤติกรรมจะชักจูงโดยผลกรรม ซึ่งผลกรรมเป็นสิ่งที่ได้รับหลังจากที่แสดงพฤติกรรมออกมา และจะมีส่วนช่วยเพิ่มแรงจูงใจให้กระทำหรือแสดงพฤติกรรมนั้นอีก เรียกง่ายๆ ว่าตัวเสริมแรง

สมมติฐานการวิจัย จำนวนของผู้เรียนที่มีพฤติกรรมความรับผิดชอบ ในงานที่ได้รับมอบหมายสูงกว่าร้อยละ 70 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด

วิธีดำเนินการวิจัย สร้างแบบบันทึกพฤติกรรม กำหนดระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และจำนวนครั้งการส่งงานในรายวิชาฯ การกำหนดเงื่อนไขพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ดังนี้ คือ 2.1 ชี้แจงให้ผู้เรียนเข้าใจถึงวัตถุประสงค์และรายละเอียดของการพฤติกรรม ความรับผิดชอบในการส่งงานที่ได้รับมอบหมายในรายวิชาฯ ของผู้เรียนโดยการใช้เสริมแรงทางบวกด้วยคะแนนพิเศษ 2.2 เมื่อผู้วิจัยอธิบายเกณฑ์ต่างๆ เรียบร้อยแล้ว จะดำเนินการสอนเนื้อหาต่างๆ และให้ผู้เรียนทำใบงานและแบบฝึกหัดเพื่อทบทวนความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน พร้อมทั้งกำหนดเวลาในการส่งงานและให้ผู้เรียนเริ่มปฏิบัติงาน การวิจัยครั้งนี้ใช้เวลาทั้งสิ้น 12 สัปดาห์ การวิจัยครั้งนี้ดำเนินการในชั่วโมงเรียนวิชา จิตวิทยามนุษย์เชิงธุรกิจ ของผู้เรียน ซึ่งในแต่ละสัปดาห์จะมีการสอนทั้งสิ้น 2 คาบ คาบละ 50 นาที รวมทั้งหมด 24 คาบ รวบรวมข้อมูลและสรุปผลการวิจัย

การเก็บรวบรวมข้อมูลและสถิติที่ใช้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติพื้นฐาน ได้แก่ จำนวนความถี่ ค่าร้อยละ ข้อมูลที่ใช้ (Data) เครื่องมือเก็บข้อมูล (Tool) การบันทึกพฤติกรรม จำนวน 12 สัปดาห์ พฤติกรรมความรับผิดชอบการส่งงานตามที่ได้รับมอบหมาย แบบสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของผู้เรียน แบบบันทึกการให้คะแนนพิเศษของผู้เรียน แบบบันทึกการส่งงานของผู้เรียน

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ร้อยละ สัปดาห์

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล จากผลการวิเคราะห์ค่าคะแนนเฉลี่ยของผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสู(ปวส.) ปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด ปีการศึกษา 2555 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ จำนวน 37 คน โดยการให้คะแนนพิเศษกับผู้เรียนแสดงพฤติกรรมความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายจากผู้สอนจนสำเร็จ และส่งงานได้ครบตรงตามเวลาที่กำหนด พบว่า ผู้เรียนมีพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายสูงกว่าร้อยละ 70 แสดงว่าการการเสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายโดยการใช้เสริมแรงทางบวก (คะแนนพิเศษ) สามารถส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้เรียนได้จริง

ขอบคุณค่ะ