โครงการ FAST TRACK AMI กลุ่มงานอายุรกรรม รพ.ร้อยเอ็ด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
Service Plan สาขา NCD.
Risk Management JVKK.
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
รายงานบาดเจ็บอุบัติเหตุจราจร ปี 2551
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
Lean ภาควิชาจิตเวชศาสตร์.
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
งานบริหารความเสี่ยง Risk management (RM)
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส
โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด โรงพยาบาลปราสาท PCT อายุรกรรม.
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
ประเด็นการตรวจราชการ
แนวทางการบริหารกองทุน ที่จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ ปีงบประมาณ 2552
ทีมนำด้านการดูแลผู้ป่วย
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
- กลุ่มโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน Acute coronary syndrome (ACS)
เนื้อที่ทั้งหมด 32 ไร่ 2 งาน 10 ตารางวา
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
สารสนเทศกับการพัฒนางาน โรงพยาบาล
เรื่อง การดูแลผู้ป่วย MI
ระบบรับ-ส่งต่อผู้ป่วย
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
คณะกรรมการพัฒนาคุณห้องปฏิบัติการ เขตบริการสุขภาพที่ 5
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
รพ. สระใคร อ. สระใคร จ. หนองคาย
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลงาน ปีงบประมาณ 2552 ( ตุลาคม กันยายน 2552 )
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
สาขาโรคมะเร็ง.
ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย” ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ.
การพัฒนาระบบบริการสาขาหัวใจ เขต1
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
RMCDOTNET โปรแกรมบริหารระบบบำรุงรักษาในโรงพยาบาล
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
ผลลัพธ์การศึกษาสถานการณ์ การได้รับยาสลายลิ่มเลือด และค่าใช้จ่าย ของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ในโรงพยาบาลหาดใหญ่ กัลยาณี เกื้อก่อพรม พยม.
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
แนวทางการคัดกรองและส่งต่อ ผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจ โรงพยาบาลศรีสะเกษ
โครงการ พัฒนาคุณภาพบันทึกทางการพยาบาล หอผู้ป่วยพิเศษ 1
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการ FAST TRACK AMI กลุ่มงานอายุรกรรม รพ.ร้อยเอ็ด

วัตถุประสงค์ ลดอัตราการตาย ลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย AMI พัฒนาศักยภาพบุคลากร ลดอัตราการตาย ลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย AMI ลดระยะเวลารอรับยา SK ลดภาวะแทรกซ้อนจากการใช้ยา SK

โรงพยาบาลร้อยเอ็ด ผู้ป่วย STEMI ทุกรายที่รักษาในกลุ่มงานอายุรกรรม กลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วย STEMI ทุกรายที่รักษาในกลุ่มงานอายุรกรรม โรงพยาบาลร้อยเอ็ด

ตัวชี้วัดคุณภาพ อัตราการตายผู้ป่วย STEMI ลดลง ระยะเวลารอรับยา SK น้อยกว่า 60 นาที วันนอนรักษาเฉลี่ยลดลง ภาวะแทรกซ้อนจากการได้ยา SK ได้รับการ ป้องกันและแก้ไข 100%

PR โครงการ Fast Track AMI ผู้ป่วยเจ็บหน้าอกสงสัยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด 1. ซักประวัติ ร่างกาย 2. EKG 12 Lead/Troponin T 3.Consult อายุรแพทย์กรณีต้องให้ยา SK ACUTE ST ELEVATED MI ACUTE NONST ELEVATED MI เข้า FAST TRACK AMI - O2 5 LPM - ASPIRIN gr. V เคี้ยว - IV. KVO เข้า FAST TRACK AMI - O2 5 LPM - ASPIRIN gr. V เคี้ยว - IV. KVO hemodynamic stable Hemodynamic Unstable (high risk) hemodynamic Stable(low-moderate risk) - Admitted MICU (เตียงเสริม) - Rx. Steptokinase ตามข้อบ่งชี้ - Observe 2 ชม. ถ้า Stable ย้าย ward สามัญ - Admitted MICU (แทรกเตียง) - Rx. ตาม guide line - พิจารณา refer ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ (Fax. EKG, PE consult) - Admitted Ward สามัญ - Rx. ตาม guide line - refer ศูนย์หัวใจสิริกิติ์เพื่อประเมิน Risk stratification หลัง discharge

ข้อปฏิบัติสำหรับ AE, OPD 1. EKG 12 Lead / O2 Canular 5 LPM 2. Troponin T (strip) Stat. 3. CPK,CK MB, Troponin T ส่งขอผลด่วน 4. ให้ ASA qr.v 1 tab เคี้ยวก่อนกลืน Stat. 5. ให้ IV. Fluid KVO (5% / D / W) 6. Consult Staff Med กรณี STEMI ที่ต้องให้ SK 7. Admitted ICU MED ประสานก่อนทุกครั้ง

ข้อปฏิบัติ MICU 2. ให้ยา SK หลังคัดกรองภาวะเสี่ยง 1. ประเมินสภาพผู้ป่วย / ให้การพยาบาลผู้ป่วยรับใหม่ 2. ให้ยา SK หลังคัดกรองภาวะเสี่ยง 3. EKG 12 Lead Stat และหลังให้ SK 4. Monitor EKG,VS จน Stable(2 ชม.)ก่อนย้าย Ward 5. ถ้าไม่ Stable แทรกเตียงเข้า CCU 6. ลงทะเบียน STEMI Registry

ปัญหาที่พบจากการ Tracer ระบบ/Process Indicator(2550) 1.ระยะรอ SK กลุ่มที่ไม่ได้เข้า Fast Tack 2.อัตราการเข้า Fast Tack 3.อัตราการได้ SK ใน MICU 4.ระยะเวลารอ EKG ที่ AE 5.ได้ SK โดยไม่มีข้อบ่งชี้

ปัญหาที่พบจากการ Tracer ระบบ/Process Indicator(2550) 6.Delay Rx. / มีข้อบ่งชี้แต่ไม่ได้ยา SK 7.ลงรหัส ICD 10 ไม่ถูกต้อง 8.Competency ไม่ผ่านเกณฑ์ประเมิน 9.ความรู้ ความเข้าใจ การใช้ CPG,Care Map,PR และมาตรฐานการพยาบาล

ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน

แสดงระยะเวลารอรับยาSK โครงการ Fast Track AMI

แสดงระยะเวลารอรับยา SK เปรียบเทียบในและนอกโครงการ Fast Track AMI

แสดงจำนวนรายผู้ป่วยเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงจากยา SK

อัตราการวินิจฉัยโรครหัส I219 (ตามระบบ ICD 10) เปรียบเทียบก่อนและหลังดำเนินการพัฒนา(ต.ค.2550-ก.ย.2551) เป้าหมาย 0%

โอกาสพัฒนา 1.การวินิจฉัย การรักษาที่ถูกต้องรวดเร็ว 2.ระบบการ Consult 3.การปฏิบัติตาม PR, CPG, Care Map 4.ระบบ Refer

การเชื่อมโยง 1. AE, OPD, ICU, Ward เวชกรรมสังคม 2. ทีมสหสาขา 3. LAB,X-Ray, MIS, RM, ENV 4. สอ./รพช./รพท./ศูนย์หัวใจสิริกิติ์

แผนการดำเนินงานACS /ปี 2552 1.ทักษะความรู้บุคลากร 2.ให้ SK ที่ AE 3.พัฒนาระบบการส่งต่อ 4.ลด Onset ถึงเวลารับยา SK < 3 ชม. 5.ประชุมเครือข่าย รพช. รพท. ศูนย์หัวใจสิริกิติ์

แผนการดำเนินงานACS 2552 6.การเข้าถึงบริการ 7.สร้างเสริมสุขภาพ/ป้องกัน/ฟื้นฟู 8.พัฒนาระบบสารสนเทศ

การศึกษาอุบัติการณ์การเกิดโรคภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI ที่เข้ารับการรักษาในรพ.ร้อยเอ็ด

ปีที่ทำการศึกษา 2551 วิธีการศึกษา - เก็บข้อมูลแบบไปข้างหน้า - บันทึก Program STEMI Registry - วิเคราะห์ใช้สถิติร้อยละ (ผู้บันทึกผ่านการอบรม)

ผลการศึกษา ผู้ป่วยทั้งหมด 112 ราย - ชาย 66 ราย(58.92%) - หญิง 46 ราย(41.07%) 2.อายุเฉลี่ย 65 ปี

ผลการศึกษา สิทธิการรักษา - UC 84 ราย - Non UC 28 ราย

ผลการศึกษา -รับ Refer 85 ราย(75.89%) - มาเอง 27 ราย (24.11%)

ผลการศึกษา - Onset 520.18 นาที (8 ชม.) - Door to Drug เฉลี่ย 145 นาที

ผลการศึกษา ลักษณะ Angina chest pain Atypical 51 ราย Typical 56 ราย Unknown 11 ราย

ผลการศึกษา อาการอื่นที่พบร่วม Dyspnea 67 ราย Syncope 20 ราย Cardiac Arrest 12 ราย

ผลการศึกษา ปัจจัยเสี่ยง DM 33.05% HT 31.35% FH 16.10% Dyslipidemia 6.78% Smoking 31.35%

ผลการศึกษา Cardiac Enzyme - CKMB Elevate 58.47% - Troponin Elevate 56.78%

ได้ Fibrinolylic (SK) 22 ราย ผลการศึกษา ได้ Fibrinolylic (SK) 22 ราย อายุเฉลี่ย 59.63 ราย อายุสูงสุด 79 ปี ชาย 15 ราย หญิง 7 ราย

ผลการศึกษา Complication Cardiac arrhythmia 36 ราย - Tachyarrhythmia 25 ราย - Bradyarrhythmia 11 ราย

ผลการศึกษา Killip class I 43 ราย(38.39%) II 25 ราย(22.32%) III 7 ราย(6.25%) IV 37 ราย(33.03%)

ผลการศึกษา ตำแหน่ง - Anterior wall 69 ราย(61.60%) - Inferior wall 37 ราย(33.03%) - Other Site 5 ราย(4.46%) - Unspecefic Site 1 ราย(0.89%)

ผลการศึกษา ยาที่ได้รับ ASA 109 ราย ADP 42 ราย Heparin / LMWH 70 ราย Gp2b Inhibitor 16 ราย Direct Antithrombin 7 ราย Warfarin 4 ราย Beta blocker 28 ราย ACEI 28 ราย Statin 56 ราย ยาที่ได้รับ

ผลการศึกษา D/C Status - refer 26 ราย(23.21%) - Dead 25 ราย(22.32%) - Improved 55 ราย(49.10%) - Against advice 6 ราย(5.35%)

ผลการศึกษา - ค่ารักษา เฉลี่ย 16,009.88 บาท - LOS เฉลี่ย 14 วัน