โครงการ FAST TRACK AMI กลุ่มงานอายุรกรรม รพ.ร้อยเอ็ด
วัตถุประสงค์ ลดอัตราการตาย ลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย AMI พัฒนาศักยภาพบุคลากร ลดอัตราการตาย ลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย AMI ลดระยะเวลารอรับยา SK ลดภาวะแทรกซ้อนจากการใช้ยา SK
โรงพยาบาลร้อยเอ็ด ผู้ป่วย STEMI ทุกรายที่รักษาในกลุ่มงานอายุรกรรม กลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วย STEMI ทุกรายที่รักษาในกลุ่มงานอายุรกรรม โรงพยาบาลร้อยเอ็ด
ตัวชี้วัดคุณภาพ อัตราการตายผู้ป่วย STEMI ลดลง ระยะเวลารอรับยา SK น้อยกว่า 60 นาที วันนอนรักษาเฉลี่ยลดลง ภาวะแทรกซ้อนจากการได้ยา SK ได้รับการ ป้องกันและแก้ไข 100%
PR โครงการ Fast Track AMI ผู้ป่วยเจ็บหน้าอกสงสัยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด 1. ซักประวัติ ร่างกาย 2. EKG 12 Lead/Troponin T 3.Consult อายุรแพทย์กรณีต้องให้ยา SK ACUTE ST ELEVATED MI ACUTE NONST ELEVATED MI เข้า FAST TRACK AMI - O2 5 LPM - ASPIRIN gr. V เคี้ยว - IV. KVO เข้า FAST TRACK AMI - O2 5 LPM - ASPIRIN gr. V เคี้ยว - IV. KVO hemodynamic stable Hemodynamic Unstable (high risk) hemodynamic Stable(low-moderate risk) - Admitted MICU (เตียงเสริม) - Rx. Steptokinase ตามข้อบ่งชี้ - Observe 2 ชม. ถ้า Stable ย้าย ward สามัญ - Admitted MICU (แทรกเตียง) - Rx. ตาม guide line - พิจารณา refer ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ (Fax. EKG, PE consult) - Admitted Ward สามัญ - Rx. ตาม guide line - refer ศูนย์หัวใจสิริกิติ์เพื่อประเมิน Risk stratification หลัง discharge
ข้อปฏิบัติสำหรับ AE, OPD 1. EKG 12 Lead / O2 Canular 5 LPM 2. Troponin T (strip) Stat. 3. CPK,CK MB, Troponin T ส่งขอผลด่วน 4. ให้ ASA qr.v 1 tab เคี้ยวก่อนกลืน Stat. 5. ให้ IV. Fluid KVO (5% / D / W) 6. Consult Staff Med กรณี STEMI ที่ต้องให้ SK 7. Admitted ICU MED ประสานก่อนทุกครั้ง
ข้อปฏิบัติ MICU 2. ให้ยา SK หลังคัดกรองภาวะเสี่ยง 1. ประเมินสภาพผู้ป่วย / ให้การพยาบาลผู้ป่วยรับใหม่ 2. ให้ยา SK หลังคัดกรองภาวะเสี่ยง 3. EKG 12 Lead Stat และหลังให้ SK 4. Monitor EKG,VS จน Stable(2 ชม.)ก่อนย้าย Ward 5. ถ้าไม่ Stable แทรกเตียงเข้า CCU 6. ลงทะเบียน STEMI Registry
ปัญหาที่พบจากการ Tracer ระบบ/Process Indicator(2550) 1.ระยะรอ SK กลุ่มที่ไม่ได้เข้า Fast Tack 2.อัตราการเข้า Fast Tack 3.อัตราการได้ SK ใน MICU 4.ระยะเวลารอ EKG ที่ AE 5.ได้ SK โดยไม่มีข้อบ่งชี้
ปัญหาที่พบจากการ Tracer ระบบ/Process Indicator(2550) 6.Delay Rx. / มีข้อบ่งชี้แต่ไม่ได้ยา SK 7.ลงรหัส ICD 10 ไม่ถูกต้อง 8.Competency ไม่ผ่านเกณฑ์ประเมิน 9.ความรู้ ความเข้าใจ การใช้ CPG,Care Map,PR และมาตรฐานการพยาบาล
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน
แสดงระยะเวลารอรับยาSK โครงการ Fast Track AMI
แสดงระยะเวลารอรับยา SK เปรียบเทียบในและนอกโครงการ Fast Track AMI
แสดงจำนวนรายผู้ป่วยเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงจากยา SK
อัตราการวินิจฉัยโรครหัส I219 (ตามระบบ ICD 10) เปรียบเทียบก่อนและหลังดำเนินการพัฒนา(ต.ค.2550-ก.ย.2551) เป้าหมาย 0%
โอกาสพัฒนา 1.การวินิจฉัย การรักษาที่ถูกต้องรวดเร็ว 2.ระบบการ Consult 3.การปฏิบัติตาม PR, CPG, Care Map 4.ระบบ Refer
การเชื่อมโยง 1. AE, OPD, ICU, Ward เวชกรรมสังคม 2. ทีมสหสาขา 3. LAB,X-Ray, MIS, RM, ENV 4. สอ./รพช./รพท./ศูนย์หัวใจสิริกิติ์
แผนการดำเนินงานACS /ปี 2552 1.ทักษะความรู้บุคลากร 2.ให้ SK ที่ AE 3.พัฒนาระบบการส่งต่อ 4.ลด Onset ถึงเวลารับยา SK < 3 ชม. 5.ประชุมเครือข่าย รพช. รพท. ศูนย์หัวใจสิริกิติ์
แผนการดำเนินงานACS 2552 6.การเข้าถึงบริการ 7.สร้างเสริมสุขภาพ/ป้องกัน/ฟื้นฟู 8.พัฒนาระบบสารสนเทศ
การศึกษาอุบัติการณ์การเกิดโรคภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI ที่เข้ารับการรักษาในรพ.ร้อยเอ็ด
ปีที่ทำการศึกษา 2551 วิธีการศึกษา - เก็บข้อมูลแบบไปข้างหน้า - บันทึก Program STEMI Registry - วิเคราะห์ใช้สถิติร้อยละ (ผู้บันทึกผ่านการอบรม)
ผลการศึกษา ผู้ป่วยทั้งหมด 112 ราย - ชาย 66 ราย(58.92%) - หญิง 46 ราย(41.07%) 2.อายุเฉลี่ย 65 ปี
ผลการศึกษา สิทธิการรักษา - UC 84 ราย - Non UC 28 ราย
ผลการศึกษา -รับ Refer 85 ราย(75.89%) - มาเอง 27 ราย (24.11%)
ผลการศึกษา - Onset 520.18 นาที (8 ชม.) - Door to Drug เฉลี่ย 145 นาที
ผลการศึกษา ลักษณะ Angina chest pain Atypical 51 ราย Typical 56 ราย Unknown 11 ราย
ผลการศึกษา อาการอื่นที่พบร่วม Dyspnea 67 ราย Syncope 20 ราย Cardiac Arrest 12 ราย
ผลการศึกษา ปัจจัยเสี่ยง DM 33.05% HT 31.35% FH 16.10% Dyslipidemia 6.78% Smoking 31.35%
ผลการศึกษา Cardiac Enzyme - CKMB Elevate 58.47% - Troponin Elevate 56.78%
ได้ Fibrinolylic (SK) 22 ราย ผลการศึกษา ได้ Fibrinolylic (SK) 22 ราย อายุเฉลี่ย 59.63 ราย อายุสูงสุด 79 ปี ชาย 15 ราย หญิง 7 ราย
ผลการศึกษา Complication Cardiac arrhythmia 36 ราย - Tachyarrhythmia 25 ราย - Bradyarrhythmia 11 ราย
ผลการศึกษา Killip class I 43 ราย(38.39%) II 25 ราย(22.32%) III 7 ราย(6.25%) IV 37 ราย(33.03%)
ผลการศึกษา ตำแหน่ง - Anterior wall 69 ราย(61.60%) - Inferior wall 37 ราย(33.03%) - Other Site 5 ราย(4.46%) - Unspecefic Site 1 ราย(0.89%)
ผลการศึกษา ยาที่ได้รับ ASA 109 ราย ADP 42 ราย Heparin / LMWH 70 ราย Gp2b Inhibitor 16 ราย Direct Antithrombin 7 ราย Warfarin 4 ราย Beta blocker 28 ราย ACEI 28 ราย Statin 56 ราย ยาที่ได้รับ
ผลการศึกษา D/C Status - refer 26 ราย(23.21%) - Dead 25 ราย(22.32%) - Improved 55 ราย(49.10%) - Against advice 6 ราย(5.35%)
ผลการศึกษา - ค่ารักษา เฉลี่ย 16,009.88 บาท - LOS เฉลี่ย 14 วัน