กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ นวัตกรรมหมวกนิรภัยให้แสงสว่าง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
Advertisements

PINKLAO USES FOR HANGING THE ARM & LEG 2010
โครงการรณรงค์การจัดการสิ่งแวดล้อม
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
“การจัดการความรู้ : Share and Learn ประจำปี 2555”
หน่วยเซลล์วิทยา โรงพยาบาลรามาธิบดี
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านบึง
NAVY PILLOW 2012 (หมอนน้ำ ).
นาวาโท สมบูรณ์ เจิมสุจริต E.T.
นาวาโท สมบูรณ์ เจิมสุจริต E.T.NURSE
กบในกะลา 2011.
PINKLAO MOBILE EXCERCISE 2010
นาวาโทสมบูรณ์ เจิมสุจริต E.T. Nurse
รายชื่อผู้ศึกษาดูงาน
เรื่อง การปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น
ศูนย์รักษาความปลอดภัยและการจัดจราจรแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
ประชุมคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน มหาวิทยาลัยมหิดล
นวัตกรรม Joint feeding.
ปัญหาที่นำสู่การพัฒนา
การบริหารจัดการด้านอุบัติภัยสารเคมี
การจับไมโครโฟน(มือซ้าย) การจับไมค์โครโฟน(โดยมือขวา)
ดูแลดุจญาติมิตร พร้อมดวงจิตบริการ
โครงการจัดทำนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์
นวัตกรรมส่งเสริมสุขภาพ
Nursery ก็ลดโลกร้อนได้
แนวทางการดำเนินงานในการสำรวจพื้นที่ล่อแหลม
โครงการ “หน้าร้านเตือนภัย” สถานีตำรวจนครบาลจรเข้น้อย กองบังคับการตำรวจนครบาล 3 กองบัญชาการตำรวจนครบาล.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ หมวด 3 ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รพ
งานข้อมูลข่าวสารฝ่ายบริหารทั่วไป โรงพยาบาลเชียงรายประชา นุเคราะห์ 1.
ด้านความปลอดภัยด้วยกล้อง CCTVในโรงพยาบาล
เพ็ญศรี คำเหล็ก พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ทีมบริหารลูกค้าสัมพันธ์(CRM)
ภาพกิจกรรมการจัดตลาดนัดความรู้ เรื่อง
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ผลการดำเนินงาน EMS ปี 2551 ( ตุลาคม 50 – มิถุนายน 51) งานควบคุมโรคไม่ติดต่อและ การบาดเจ็บ.
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
สำนักงานขนส่งจังหวัดอุบลราชธานี
“ ถุงมือ สะดวกใช้ – สบายใจ ผู้ตรวจ เพื่อลดการปนเปื้อน ”
ห้อง ฉุกเฉิน ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
ชื่อโครงการ.
ห้างหุ้นส่วนจำกัด ส.เรืองโรจน์สระบุรี
นวัตกรรม ถุงประคบมือถือ
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
บทบาท...พยาบาล ห้องฉุกเฉิน
ชื่อผลงาน ถุงมหัศจรรย์.
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
ราคาตั้งแต่ 20,000 บาท ขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพและ ความละเอียดของข้อมูล ต้องใช้พลังงานจากเรือยนต์
ตามยุทธศาสตร์การพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย
สิ่งประดิษฐ์ตู้ส่องสภาพผ้าแบบประหยัด
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
รายงานผลการปฏิบัติงาน ของทีม DMAT ณ จังหวัดสงขลา วันที่ 3-7 พฤศจิกายน 2553 (Disaster Medical Assistant Team) จังหวัดภูเก็ต.
น้ำท่วม 2554.
สวัสดิการที่เกิดจากข้อตกลงร่วมกับบริษัทฯ รายละเอียดตามข้อตกลง
ศูนย์อำนวยการจราจร และลดอุบัติเหตุทางถนน ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์
ชื่อผลงาน/โครงการพัฒนา นวัตกรรมผ้ายืดมหัศจรรย์
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ, งานระบาดวิทยา,EPI, งานทันตะฯ ด้วยสองมือ... ของพวกเรา... ร่วมสร้าง.
1. แนวทางการรับคำสั่งการใช้ รถ การประกันระยะเวลาการ รับส่งผู้ป่วย 4. ความรู้ความสามารถของ พขร. ในเรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพ การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย กฎจราจร.
ผลงาน CQI งานกายภาพบำบัด
ประเภทผลงาน ประเภทนวัตกรรม ชื่อผลงาน/โครงการพัฒนาชุดอุปกรณ์พร้อมใช้
1. การ ดำเนินตามระเบียบงานสาร บรรณที่เกี่ยวข้อง 2. ความสามารถ ดำเนินการด้านสาร บรรณตามเวลาที่กำหนด 3. มีระบบ ป้องกันการสูญหายของ เอกสาร 4. การเผยแพร่ขั้นตอนในการ.
โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรองเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๘.
ศูนย์การเรียนรู้ (KM) Knowledge Management. ครั้งที่ 4 วันที่ 22 มีนาคม 2554 เวลา น. – น. ณ. ห้องประชุมปทุมเทวาภิบาล โรงพยาบาลหนองคาย โครงการประชุมวิชาการเพื่อ.
สรุปผลการ ดำเนินงาน 5 สิงหาคม ผลคะแนนความพึงพอใจ ต่อกิจกรรม มีความพึงพอใจ 126 คน คิดเป็น ร้อยละ มีความไม่พึงพอใจ 5 คน คิดเป็น ร้อยละ 3.82.
การเตรียมความพร้อมของหน่วยกู้ชีพใน เทศกาลปีใหม่ ปี ๒๕๕๔ ระหว่างวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ ถึง วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๔ หน่วยกู้ชีพ FR และ BLS – ตรวจเช็คสภาพรถยนต์ให้พร้อมออกปฏิบัติงาน.
สำนักช่วยเหลือผู้ประสบภัย มิติประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ มิติประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ 1. ช่วยเหลือและบรรเทาเหตุเบื้องต้นแก่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ นวัตกรรมหมวกนิรภัยให้แสงสว่าง งานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลวังน้อย

การออกปฏิบัติงานEMSของงานอุบัติเหตุฉุกเฉินมีการให้บริการตลอด24 ชั่วโมงซึ่งการออกปฏิบัติงานในช่วงเวลากลางคืนจะพบปัญหาเรื่องแสงสว่างที่จะช่วยในการปฏิบัติงาน ซึ่งแสงสว่างที่มีบางครั้งไม่สามารถตอบสนองในการปฏิบัติงานได้ทางงานอุบัติเหตุฉุกฉิน รพ.วังน้อยจึงคิดประดิษฐ์หมวกนิรภัยให้แสงสว่างขึ้น ใช้ในการให้แสงสว่างในการออกปฏิบัติงานของหน่วย EMS ในช่วงเวลากลางคืนเพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน หลักการและเหตุผล

เหตุจูงใจ เนื่องจากข้อจำกัดของอุปกรณ์ส่องสว่างที่มาพร้อมกับตัวรถที่บางครั้งมาสามารถให้แสงสว่างไปถึงจุดเกิดเหตุได้ หรือในการใช้ไฟฉายก็จะพบปัญหาแสงสว่างที่มีน้อย การที่ต้องใช้มือข้างหนึ่งถือกระบอกไฟฉายทำให้ไม่สะดวกในการปฏิบัติงาน และอุปกรณ์ที่สามารถใช้งานในเรื่องแสงสว่างนั้นมีราคาสูง

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อความสะดวกในการให้แสงสว่างในการออกปฏิบัติงานEMSในเวลากลางคืน 2. เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่เนื่องจากเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ป้องกันอุบัติเหตุที่ศีรษะได้ด้วย 3.สามารถให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพในเวลากลางคืน

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.สามารถนำหมวกนิรภัยให้แสงสว่างมาใช้ในการปฏิบัติงานEMSเพื่อเพิ่มความสะดวกและประสิทธิภาพในการให้บริการในเวลากลางคืนมากขึ้น 2.เจ้าหน้าที่มีความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

วิธีการดำเนินงาน 1.ประชุมเจ้าหน้าที่งานอุบัติเหตุ-ฉุกเฉินเพื่อวิเคราะห์ปัญหาในการออกปฏิบัติงานEMS พบว่าในช่วงเวลากลางคืนจะออกเหตุสูงถึง 61.53% ซึ่งปัญหาเรื่องแสงสว่างในการให้บริการเป็นปัญหาที่ทำให้การให้บริการไม่สะดวกและบางครั้งทำให้ประสิทธิภาพในการให้บริการลดลง

วิธีการดำเนินงาน 4. จัดทำหมวกนิรภัยให้แสงสว่าง โดยใช้อุปกรณ์ดังนี้ 2.มอบหมายให้ทีมงานพยาบาลและEMT ไปดำเนินการคิดหาอุปกรณ์ที่ให้แสงสว่าง ที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานมากที่สุดและให้ความปลอดภัยแก่ศีรษะระหว่างปฏิบัติงาน 3.ทีมงานได้ใช้ต้นแบบของหมวกCommanderของหน่วยกู้ชีพและใช้ดูจากอุปกรณ์ส่องสว่างที่ใช้ในการกู้ภัย แต่มีราคาประมาณ 3,000-6,500บาท 4. จัดทำหมวกนิรภัยให้แสงสว่าง โดยใช้อุปกรณ์ดังนี้ หมวกนิรภัยสีขาว ราคา 80 บาท ชุดไฟส่องสว่างพร้อมแบตเตอรี่ ราคา 250 บาท น๊อต 2 ตัว สติ๊กเกอร์ติดหมวก 20 บาท รวมราคา 350 บาท/ใบ

วิธีการดำเนินงาน 5. วิธีประกอบ นำหมวกนิรภัยมาเจาะรู 2 รู เพื่อใส่น็อต นำชุดไฟสองสว่างมาประกอบติดกับตัวหมวก ติดสติ๊กเกอร์ EMS และชื่อโรงพยาบาลที่หมวก

ตั้งแต่ 1 มกราคม 2554-30 กันยายน 2553 ประเมินผลทุกเดือน ระยะเวลาดำเนินการ ตั้งแต่ 1 มกราคม 2554-30 กันยายน 2553 ประเมินผลทุกเดือน

ผลการดำเนินงาน (มกราคม-มีนาคม54) 1.ออกปฏิบัติการ 61 ครั้ง เป็นเวลากลางคืน 38 ครั้ง ได้ใช้งาน 14 ครั้ง 2.เจ้าหน้าที่มีความพึงพอใจต่อการใช้งาน 100 % 3.ไม่พบอุบัติเหตุบริเวณศีรษะขณะออกปฏิบัติการ

ข้อเสนอแนะ/ปัญหา อุปสรรค / การวางแผนการพัฒนาต่อไป 1.พัฒนาให้เหมาะสมกับการใช้งานภายในห้องER สำหรับการทำหัตถการต่อไป