การศึกษาผลกระทบของฝนกรดที่มี ต่อต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง (The Effect of Acid rain to Nepenthes) จัดทำโดย นายปฎิมากรณ์ แก้วสถิตย์ นางสาวดวงธิดา พันธุ์เมฆา นางสาวศุภรดา ยุทธกิจ ครูที่ปรึกษา อาจารย์พัชรี อินทปัญญา โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร” จังหวัดนครนายก
ที่มาและความสำคัญ ภาวะฝนกรด (Acid rain) ปฏิกิริยาที่ก่อให้เกิดฝนกรด 2SO2(g) + O2(g) 2SO3(g) SO3(g) + H2O(l) H2SO4(aq) 2NO(g) + O2(g) 2NO2(g) 2NO2(g) + H2O(l) HNO2(aq) + HNO3(aq)
ภาวะฝนกรด (Acid rain) ในประเทศไทย ที่มาและความสำคัญ ภาวะฝนกรด (Acid rain) ในประเทศไทย คพ.ชี้แนวโน้มไทยเสี่ยงภาวะ'ฝนกรด'เร่งคุมระดับมลพิษ กรมควบคุมมลพิษ(คพ.)ร่วมกับเครือข่ายการติดตามตรวจสอบการตกสะสมของกรดในภูมิภาคเอเชียตะวันออก(EANET) ซึ่งมีสมาชิก 13 ชาติ ได้แก่ กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย เวียดนาม เมียนมาร์ ไทย มองโกเลีย ฟิลิปปินส์ เกาหลี ญี่ปุ่น จีน และรัสเซีย โดยได้ดำเนินการติดตามตรวจสอบการตกสะสมของฝนกรด และระดับความรุนแรงของปัญหาจากการตกสะสมของกรดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกมาตั้งแต่ปี 2553 พบว่า มีความเป็นกรดมากขึ้น รวมทั้งสถานีตรวจวัดของไทย 6 จุด คือในกทม.2 แห่ง กาญจนบุรี ชลบุรี เชียงใหม่ นครราชสีมา ที่พบว่าค่าน้ำฝนมีความเป็นกรดเช่นกัน ที่มา: หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 17 กรกฎาคม 2556 - See more at: http://www.hfocus.org/content/2013/07/3995#sthash.AYyqI4FJ.dpuf
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในปี ค.ศ.1985 นิตยสาร Time Magazine ของประเทศสหรัฐอเมริกาได้ตีพิมพ์บทความเกี่ยวกับการตาย ของต้นไม้จํานวนมากในป่าของประเทศเยอรมนี ในชื่อบทความ“ The dying Forests –What Is Killing All the Trees? ” บทความนี้เป็นบทความที่สร้างความสนใจให้ชาวโลกและทําให้ตะหนักถึงภัยคุกคามใหม่ที่เกิดขึ้น ปรากฏการณ์ต้นไม้ตายในประเทศเยอรมนี เรียกว่าWaldsterben หรือ dying-forest symdrome โดยสาเหตุของปัญหาดังกล่าวเกิดจากผลกระทบของฝนที่มีฤทธิ์เป็นกรด หรือ ฝนกรด http://ajutarut.files.wordpress.com/2013/07/ir16.pdf
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของภาวะฝนกรดที่มีต่อการเจริญเติบโตของต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง
สมมุติฐาน ถ้าฝนกรดเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง เมื่อรดด้วยน้ำที่มีภาวะเป็นกรดซัลฟิวริก(H2SO4)และกรดไนตริก(HNO3) ลงบนต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง จะทำให้การเจริญเติบโตของความยาวของใบ ความกว้างของใบและขนาดของหม้อเปลี่ยนแปลงไปจากปกติ
สายพันธุ์ที่ทำการศึกษา กรดที่นำมาจำลองเป็นภาวะฝนกรด ขอบเขตของการวิจัย สายพันธุ์ที่ทำการศึกษา หม้อข้าวหม้อแกงลิง กรดที่นำมาจำลองเป็นภาวะฝนกรด กรดซัลฟิวริก กรดไนตริก ตัวแปรต้น น้ำที่ใช้รดต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงซึ่งมีภาวะเป็นกรด เตรียมจาก กรดซัลฟิวริก และกรดไนตริก ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรตาม การเจริญเติบโตของต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง ได้แก่ ความยาวของใบ ความกว้างของใบ ขนาดของหม้อ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ตัวแปรควบคุม ปริมาณน้ำที่รด ความถี่ในการรด สภาพแวดล้อม
วิธีการดำเนินงานโดยสังเขป เตรียมกรด H2SO4 HNO3 pH = 5.5 เตรียมหม้อข้าวหม้อแกงลิง จำนวน 9 ต้น H2SO4 HNO3 H2O รดวันละ 2 ครั้งช่วงเช้าและเย็น ครั้งละ 200 ลูกบาศก์เซนติเมตรเป็นระยะเวลา 6 เดือน และวัดการเจริญเติบโตของต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ส่วนที่จะวัด ได้แก่ ความยาวของใบ ความกว้างของใบ ขนาดของหม้อ
แผนการดำเนินงาน ระยะเวลา การทำงาน 20 ตุลาคม - 20 พฤศจิกายน 57 ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับโครงงาน 25 พฤศจิกายน – 10 ตุลาคม 57 เตรียมอุปกรณ์การทดลอง 12 พฤศจิกายน – 12 พฤษภาคม 57 ทำการทดลอง บันทึกผล 12 พฤษภาคม 57 สรุปผลการทดลอง
ผลที่คาดว่าจะได้รับ ทำให้ทราบผลของฝนกรดที่มีต่อการเจริญเติบโตของต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง 1. เพื่อเป็นข้อเสนอแนะให้แก่ผู้ที่นำต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงไปขยายพันธุ์ในพื้นที่ที่ประสบภาวะฝนกรด 2. มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับการดูแลต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง 3.
เอกสารอ้างอิง กรมวิทยาศาสตร์บริการ, ฝนกรด, เข้าถึงได้จากhttp://ajutarut.files.wordpress.com/2013/07/ir16.pdf [Online] ] 28 ตุลาคม 2557 สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, หนังสือเรียนเคมีพื้นฐาน, องค์การค้า สกสค. ปีที่พิมพ์ 2556 ฝนกรด, เข้าถึงได้จาก http://ozone.tmd.go.th/acid.htm [Online] 28 ตุลาคม 2557