ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางณัฐฐินี ฉิมแย้ม ผู้วิจัย
Advertisements

ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนยีวิมล.
นางสาวทัศนีย์ ศรีภุมมา
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวทัศนา จันทะเรือง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ใช้เกมพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง พัฒนาการสอนแบบสาธิตร่วมกับการลงมือปฏิบัติเรื่อง การตะไบผิวเรียบเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อาจารย์ ว่าที่ ร.ต. ศุภกร.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ศึกษาผลสัมฤทธิ์การใช้ ชุดฝึกเสริมทักษะรายวิชา บัญชีเบื้องต้น 1 สำหรับ นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปี ที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีระยอง บริหารธุรกิจ ผู้วิจัย.
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง วิชาการขาย 2 เรื่องกระบวนการขายของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
นางสาวมัทนา เครือแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาพิมพ์ดีดไทย 1 โดยใช้แบบฝึกกลุ่มคำสั้น ๆ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 โดย นางสุกัญญา พลรัตนมงคล.
ชื่อเรื่อง ศึกษาผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ การเขียน เรื่องชนิดของคำ วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
ชื่อผู้วิจัย ว่าที่ร้อยตรีหญิง ภรณ์ทิพย์ เทพธีระชัย สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนา พณิชยการ เชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ ชื่อเรื่อง : การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ภาษาไทยของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยี
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยเทคนิคการสอนระหว่างแบบ Mind Map กับเทคเทคการสอนนำเสนอหน้าชั้นเรียน วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ ปวช.2/3 ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ

ปัญหาของการวิจัย 1.1 การเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียนวิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ ผู้เรียนได้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ซึ่งผู้เรียนต้องเรียนทั้งด้านทฤษฏีและปฏิบัติจริงกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดกระบวนการเรียนรู้และมีทักษะในการปฏิบัติงาน ผู้สอนได้จัดทำเนื้อหาวิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ที่ระดับต่ำเนื่องมาจากหลายสาเหตุ สิ่งที่ผู้สอนได้สังเกตและสอบถามนักเรียนคือ การขาดทักษะ นักเรียนส่วนใหญ่ร้อยละ 95 มองภาพรวมเนื้อหาไม่ได้ และนักเรียนจะเรียนตามลำดับก่อนหลังของวิชา จึงทำให้เรียนไม่สามารถจดจำบทแรกและบทต้นๆได้ เนื่องจากจำนวนเนื้อหามีมากเกินไป

1.3 วัตถุประสงค์ 1.3.1 เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้แบบ Mind map วิชาระบบเครือข่ายเบื้องต้น เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1.3.2 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ Mind map

แบบแผนการวิจัย ก่อนเรียน ทดลอง หลังเรียน T1 X T2 การวิจัยในครั้งนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research) โดยมีแบบแผนการวิจัย Control Group Pretest-Posttest Design (Tuckman 1999:162) สัญลักษณ์ที่ใช้แทนการทดลอง T1 แทน การทดสอบก่อนทำการทดลองสอน (Pretest) T2 แทน การทดสอบหลังทำการทดลองสอน (Posttest) X แทน การสอนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ Mind Map ก่อนเรียน ทดลอง หลังเรียน T1 X T2

ค่าเปรียบเทียบเฉลี่ยและค่าร้อยละ ก่อนและหลังการใช้ผังความคิด Mind map คะแนนเต็ม X SD ร้อยละ ของคะแนนเต็ม t-test คำนวน ก่อนเรียน 30 12.27 2.73 40.89 16.69 หลังเรียน 24.27 2.84 81.22 *มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05, (df= 30) = 1.69

จากตารางค่าเปรียบเทียบ แสดงให้เห็นว่าคะแนนของนักศึกษาก่อนการใช้ผังความคิด Mind mapค่าเฉลี่ยเท่ากับ12.27 หรือ ร้อยละ40.89 หลังการใช้ผังความคิด Mind map ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 24.27 หรือ ร้อยละ 81.22 เมื่อพิจารณาผลการประเมินผังความคิด Mind map ในภาพรวมพบว่า ผังความคิด Mind map ได้ค่า t-test คำนวน 24.27

1.5 สรุปผลอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 1.5.1 สรุปผล ผลการวิเคราะห์ข้อมูล จากแบบประเมินการนำเสนอหน้าชั้นเรียน ก่อนและหลังการใช้ผังความคิด Mind map ของนักศึกษาระดับชั้น ปวช. 2/3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ พบว่าก่อนการใช้ผังความคิด Mind map ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 12.27 หรือ ร้อยละ 40.89 และหลังการใช้ผังความคิด Mind map ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 24.27 หรือร้อยละ 81.22 จึงสรุปได้ว่าผลการพัฒนาทักษะการนำเสนอหน้าชั้นเรียน ใช้ผังความคิด Mind map ของระดับชั้น ปวช. 2/3 อยู่ในเกณฑ์ดี

1.5 สรุปผลอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ (ต่อ) 1.5.2 อภิปรายผล ผู้เรียนมีการพัฒนาทักษะการนำเสนอหน้าชั้นเรียนสูงขึ้น ค่าเฉลี่ยและค่าร้อยละหลังจากการใช้ ผังความคิด (Mind Map) ดีกว่าก่อนการใช้ ผังความคิด (Mind Map ) ทั้งนี้อาจเป็นเพราะผู้เรียนมีการแตกองค์ความรู้โดยการเขียนผังความคิดก่อนที่จะออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียนทำให้การนำเสนอเนื้อหาถูกต้อง ชัดเจน และเข้าใจง่ายมากขึ้น ขณะเดียวกันก็ได้พัฒนาทักษะการฟังและพูดมากขึ้น

ข้อเสนอแนะ 1. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ควรพิจารณาความเหมาะสมด้านเวลา เพื่อให้ผู้เรียนและครูผู้สอนได้เตรียมความพร้อมด้านต่างๆอย่างเต็มที่ เพราะการเรียนระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์จำเป็นต้องให้ผู้เรียนมีเวลาทำกิจกรรมเพิ่มเติม 2. ควรใช้ ผังความคิด ควบคู่ไปกับการเรียนการสอนโดยปรับเปลี่ยนกิจกรรมให้เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน 3. ควรศึกษาสภาพปัญหาของผู้เรียนในหลายๆด้าน

ขอบคุณครับ