Workshop 5 การนิยามวัตถุประสงค์ จาก SLM และสร้างตัวชี้วัด.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สวัสดีครับ.
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
สรุปกิจกรรมการประชุมวันที่ 6 ตุลาคม 2553
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
การพัฒนาเด็กจังหวัดอุดรธานี
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
การบริหารและกระบวนการวางแผน
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
สิ่งดีๆจากการทำงานแผน
การระดมความคิดกลุ่ม เขียนแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ 1. แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการที่ได้เลือก จากแผนที่ใหญ่ โดยมีความสำคัญเร่งด่วน ใช้ เวลาสั้น.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Workshop 5 การนิยามวัตถุประสงค์ จาก SLM และสร้างตัวชี้วัด

กระบวนการและขั้นตอนการสร้างและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) 1 วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์ ( 2 1 กำหนดจุดหมายปลายทาง (Destination) 3 (1)สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) การสร้างแผนที่ การใช้แผนที่ 2 4 (1)สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) (2)การสร้างกลุ่มงาน (Job Family) 5 4 (1) การนิยามวัตถุประสงค์จาก SLM (2) กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จ นิยามวัตถุประสงค์และตัวชี้วัด สร้างแผนที่ปฏิบัติการ (Mini-SLM) 6 7 เปิดงานและการติดตามผล

เครื่องชี้วัดความสำเร็จ (Indicator) คืออะไร? เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการ... กำหนดทิศทางการดำเนินงาน การตรวจสอบ ควบคุมและติดตามผล เพื่อให้งานนั้นบรรลุเป้าหมายสูงสุด (จะใช้วัดความก้าวหน้าของกิจกรรมและวัดผลที่ได้จากการทำกิจกรรมในแต่ละวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์)

เครื่องมือที่ใช้ชี้วัดความสำเร็จ ใช้เครื่องมือสำคัญ 2 ชนิด คือ 1.หัวใจของความสำเร็จ (Critical Success Factor:CSF) “ อะไรคือสิ่งที่จุดประกายที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่างๆ (หรือปฏิกิริยาลูกโซ่)ที่นำไปสู่ความสำเร็จ” 2.ตัวชี้วัดความสำเร็จ (Key Performance Indicator:KPI “ เราต้องทำหรือจะทำอะไร? ที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่เหล่านั้น ”

การค้นหาหัวใจของความสำเร็จ •ภายในวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์ (Strategic Objective) แต่ละข้อจะมีองค์ประกอบ(อาจเป็นกระบวนการหรือตัวคนก็ได้)ที่มีความสำคัญสูงต่อการเปลี่ยนแปลงหรือการบรรลุความสำเร็จ •สิ่งที่ท้าทายคือ ความสามารถกลั่นกรอง เลือกเฟ้นองค์ประกอบที่มีความสำคัญสูงสุด หรือที่เรียกว่าเป็น หัวใจความสำเร็จ หรือ Critical Success Factor(CSF) ของยุทธศาสตร์ให้พบ

ตัวอย่าง:หัวใจของความสำเร็จ (Critical Success Factor : CSF) การสร้างแผนงานและโครงการโดยชุมชน การเฝ้าระวัง(สุขภาพ) ตนเองสภาวะแวดล้อมสังคม สร้างการมีส่วนร่วม กับภาคส่วนต่างๆ ในการพัฒนา สุขภาพ สร้างคนที่มีความสามารถ (Capability) และพลังใจที่จะ ทำงานให้สำเร็จ

ประเภทของเครื่องชี้วัด ประเภทที่ 1 แสดงผลลัพธ์ที่สำคัญ ของการเปลี่ยนแปลง ใช้ชื่อว่า “ตัวชี้วัดผลลัพธ์” (Key Result Indicator:KRI) ประเภทที่ 2 แสดงปฏิบัติการที่นำไปสู่ผลลัพธ์ในประเภทที่ 1 ใช้ชื่อว่า “ตัวชี้วัดผลงาน” (Performance Indicator:PI) ประเภทที่ 3 แสดงปฏิบัติการสำคัญที่มีผลต่อวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์หลายตัวหรือทั้งหมด ใช้ชื่อว่า “ตัวชี้วัดผลสำเร็จ” (Key Performance Indicator:KPI)

ตัวชี้วัดผลลัพธ์ที่สำคัญ (Key Result Indicator : KRI)  แสดงผลลัพธ์ที่สำคัญที่ได้จากการปฏิบัติตามแผน วัดผลสำเร็จของโครงการ  เหมาะสำหรับผู้บริหารระดับสูง ผู้ควบคุมนโยบาย บอกได้ว่าเกิดผลกับนโยบายอย่างไรบ้าง? แต่ไม่สามารถบอกที่มาที่ไปหรือเบื้องหลังของผลที่ได้  มีลักษณะเป็นอดีต (Historical) แสดงว่า “เราได้ทำ อะไรไปแล้ว” (Output/Outcome )

ตัวชี้วัดผลลัพธ์ที่สำคัญ (Key Result Indicator : KRI) •เป็นผลรวมของกระบวนการต่างๆ หลาย อย่าง ไม่สามารถระบุที่มาที่ไปได้ •ไม่บอกว่า “ได้ทำ (process) อย่างไร?” ใครทำ” จึงใช้ปรับทิศทางไม่ได้ ตัวอย่าง เช่น  ร้อยละของกลุ่ม/เครือข่ายที่มีแผนงาน/โครงการของตนเอง  ร้อยละของผู้ผ่านการฝึกอบรมตามโครงการ  ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการตรวจร่างกาย  อัตราป่วยด้วยโรคไข้หวัดนก ฯลฯ

ตัวชี้วัดผลงาน (Performance Indicator : PI)  เป็นเครื่องชี้วัดที่หน่วยงานต่างๆ สร้างขึ้นสำหรับควบคุมการปฏิบัติงานในส่วนที่รับผิดชอบหรือวางแผนงบประมาณ แสดงว่า “เราต้องทำอะไรบ้าง” แต่ไม่บอกว่าอะไรมีความสำคัญสูงสุด  มีจำนวนมาก อยู่ระหว่าง KRI กับ KPI  เป็นแหล่งที่มาของ KPI ใช้ประกอบกับ KPI โดยเฉพาะในองค์กรระดับปฏิบัติการ  อาจไม่มีผลโดยตรงต่อการบรรลุเป้าหมายในระยะสั้นแต่มีผลต่อการพัฒนาในระยะยาว

ตัวชี้วัดผลงาน (Performance Indicator : PI) •ใช้ได้ทั้งเพื่อแสดงอดีต(ผลงานที่ผ่านมา)หรือปัจจุบัน (กำลังทำอะไรอยู่) ตัวอย่าง เช่น  จำนวนโครงการศึกษาวิจัยองค์ความรู้  การมีศูนย์ประสานงานเครือข่าย  จำนวนฐานข้อมูลที่พร้อมใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ  จำนวนคู่มือ/สื่อ/ศูนย์การเรียนรู้ ฯลฯ

ตัวชี้วัดผลสำเร็จ (Key Performance Indicator : KPI)  มีลักษณะเป็นปัจจุบันหรืออนาคต เท่านั้น “เราต้องทำหรือจะทำอะไรที่ก่อให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ที่นำไปสู่ความสำเร็จ” ใช้ติดตามงานที่เกิดขึ้นเป็นรายวัน/ทุกวัน หรือเป็นปัจจุบัน (Real Time)  ใช้วางแผนงานล่วงหน้าว่าจะทำอะไรในอาทิตย์หน้า/เดือนหน้า

ตัวชี้วัดผลสำเร็จ (Key Performance Indicator : KPI)  ผู้ปฏิบัติงานทุกคนต้องเข้าใจเครื่องชี้วัดและรู้วิธีแก้ไขเมื่อเกิดปัญหา  สามารถหาผู้รับผิดชอบในระดับต่างๆได้เมื่อเกิดปัญหา  มีผลกระทบต่อยุทธศาสตร์อย่างมีนัยสำคัญและ กว้างขวาง(หลายมุมมอง)  ต้องมีการติดตาม ตอบสนองโดยผู้บริหารระดับ CEO

ตัวอย่าง : ตัวชี้วัดความสำเร็จ : KPI  การรายงาน/แจ้ง การพบผู้ป่วยโรคไข้หวัดนก ภายใน 1 ชั่วโมง  เดินออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องวันละ 30 นาที (ไม่ใช่ 3 วัน/สัปดาห์)  ดำเนินการตามข้อตกลงการดำเนินงานร่วมกัน (ไม่ใช่มีแค่เอกสาร)  ผู้ผ่านการเสริมสร้างทักษะสามารถสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ในพื้นที่เป้าหมายได้  การแลกเปลี่ยนและใช้ข้อมูลสารสนเทศระหว่างเครือข่าย

ตำแหน่งและสัดส่วนของตัวชี้วัด ผลสำเร็จ 10 % ผลลัพธ์ที่สำคัญ 10 % ผลงาน 80 %

สร้าง KPI จากแผนที่ฉบับปฏิบัติการ (SLM) สำหรับผู้จัดการ การวัดเพ่งเล็งวัดเฉพาะวัตถุประสงค์ที่กำหนดใน SLM ประกอบด้วย 2 ชนิดที่ต้องวัดคู่กัน วัดความก้าวหน้าของกิจกรรม วัดผลที่ได้จากการทำกิจกรรมนั้น วัดเฉพาะ KPI ของแต่ละกล่องวัตถุประสงค์เท่านั้น สำหรับผู้บริหาร หา”หัวใจของความสำเร็จ CSF” ให้พบ แล้วติดตาม KPI เฉพาะส่วนนั้นในการติดตามผล จะใช้เพียง 1-2 ตัว ผลลัพธ์ กิจกรรม

วิธีการนิยามวัตถุประสงค์และเครื่องชี้วัด 1.นำวัตถุประสงค์และกลยุทธ์สำคัญมาบรรจุลงในช่อง(ช่องที่ 1, 2) 2.ร่วมกันคิดกิจกรรมสำคัญของแต่ละกลยุทธ์ ในช่องกิจกรรมสำคัญ ต้องการคิดใหม่ๆ หรืออาจนำกิจกรรมที่มีมาใส่ (ช่องที่ 3) เช่น...จัดทำระบบข้อมูล ฯลฯ 3.ระบุอาการกระทำ (กริยา) หรือวิธีการทำกิจกรรมสำคัญแต่ละกิจกรรมว่าทำอย่างไร เช่น เก็บรวบรวมข้อมูล ออกแบบฐานข้อมูล แลกเปลี่ยนข้อมูล(ช่องที่ 4) 4.กำหนดตัวชี้วัดผลงาน (PI) ในแต่ละการกระทำ (อดีต- ปัจจุบัน) (ช่องที่ 5)

ตัวชี้วัดผลผลิต/ผลลัพธ์(KRI) ตารางนิยามวัตถุประสงค์ของแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) (ตาราง 11 ช่อง) วัตถุประสงค์ ของยุทธศาสตร์ (1 ) กลยุทธ์ สำคัญ (2) กิจกรรมสำคัญ (3) มาตรการทาง วิชาการ (4) ตัวชี้วัดผลงาน (PI) (5) ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ (KPI) (6) ตัวชี้วัดผลผลิต/ผลลัพธ์(KRI) (7) ปริมาณ งาน (8) งบ ประมาณ (9) ระยะเวลา ดำเนินการ (10) ผู้รับผิดชอบ (11) # 1 (จากกล่องต่างๆของ SLM) ***** จากกลยุทธ์ที่ผู้บริหารเลือกไว้(ต้องทำ) และกลยุทธ์อื่นๆ (ควรทำ) ******* 3-5ข้อ ต่อ 1 กลยุทธ์ (การกระทำหรืองานที่ทำ) ออกโดย ฝ่ายวิชาการ สาธารณสุข # 2 # 3 กิจกรรมสำคัญ --------ดำเนินการในกลุ่ม----

แผนปฏิบัติการสำหรับท้องถิ่น เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ “ประชาชนมีความรู้ด้านสุขภาพ” จังหวัดนครพนม ปี 2552 ใช้ความรู้ในการสร้างเสริมสุขภาพ เครื่องหมาย ตัวอย่าง จัดเวทีแลกเปลี่ยน/เวทีประชาคม แทน KPI ประชาชน แทน PI เกิดความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานกองทุนสุขภาพ การถอดบทเรียน คณะกรรมการมีความรู้และ ได้ใช้ความรู้ในเชิงวิชาการ เกิดระบบติดตาม/ประเมินผล ภาคีเครือข่ายได้ทำบทบาทที่กำหนดร่วมกัน ภาคี ประชุมคณะกรรมการกองทุน จัดเวทีประชาคม กำหนดรูปแบบการติดตาม สร้างกองทุนต้นแบบ สร้างและใช้ระบบการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ดำเนินการจัดตั้งกองทุนฯ กระบวนการ ได้รูปแบบกองทุนฯ สร้างฐานข้อมูลเชื่อมโยง อบรม/ศึกษาดูงาน มีความรู้/เข้าใจ การบริหารกองทุนฯ รากฐาน สร้างและใช้ฐานข้อมูลด้านสุขภาพ มีความรู้/เข้าใจเรื่องสุขภาพที่เหมาะสม

ความสัมพันธ์ของตัวชี้วัดผลงาน ผลสำเร็จ และ ผลลัพธ์ ผลลัพธ์(KRI) ตัวชี้วัด ผลสำเร็จ(KPI) 1 2 3 ผลงาน(PI) 1 2 3 โครงการ 1 2 3 งบประมาณ 1 2 3

วิธีการจัดทำแผนเพื่อกำหนดเป้าหมายและเครื่องชี้วัด 5.ดำเนินการจนครบทุกวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์และกลยุทธ์สำคัญทุกข้อ (โดยยังมิต้องกำหนด KPI) 6.หา CSF ให้พบที่อยู่ในชุดกิจกรรมหรือการกระทำ (ช่อง 3 และ 4) เช่น การแลกเปลี่ยนข้อมูล (ทำให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่) 7.เมื่อได้ CSF แล้วก็ให้พิจารณากำหนด KPI โดยคัดเลือกจาก PI จำนวนมาก(ในช่อง 5 )คัดเลือกเพียง 1 ตัวต่อ 1 วัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์ ลงใน(ช่อง 6) 8. การหา CSF / KPI ต้องเคร่งครัด อย่าพยายามเหมาว่า PI ตัวใดตัวหนึ่งคือ KPI 9.กำหนดผลผลิตหรือผลลัพธ์ที่จะได้ (ช่องที่ 7)

วิธีการจัดทำแผนเพื่อกำหนดเป้าหมายและเครื่องชี้วัด 10.หากหา KPI ไม่ได้ แสดงว่าการกระทำที่คิดไว้อาจไม่ให้ผลตอบแทนที่ดีพอ ดังนั้นต้องระดมสมองพิจารณาค้นหาความคิดริเริ่มใหม่ๆ ไว้ใน(ช่องที่ 7) 11.ข้อสังเกต KPI เป็นปัจจุบันหรืออนาคตเท่านั้น เช่น บุคลากรสามารถปฏิบัติการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ได้ (ส่งผลที่จะไปดำเนินต่อๆไป) 12.เมื่อได้โครงการ ตัวชี้วัด KPI/CSF และเป้าหมาย แล้ว CEO จะเป็นผู้คัดเลือกบุคคลเป็นผู้รับผิดชอบประจำกลุ่มคนละ 1 กล่องเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ หากบุคลากรไม่เพียงพอให้รับผิดชอบไม่เกิน 2 กล่อง

ตัวอย่าง:การนิยามวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์ เป้าประ สงค์ของยุทธศาสตร์ (1) กลยุทธ์สำคัญ (2) กิจกรรมสำคัญ (3) มาตรการทางวิชาการ (วิธีทำ/กระบวน การ/เทคนิคอย่างไร?) (4) ตัวชี้วัดผลงาน(การกระทำ)(PI) (5) ตัวชี้วัดผลสำเร็จ (KPI) 1 ตัวต่อ 1เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ (6) ตัวชี้วัดผลลัพธ์(KRI) (7) การพัฒนาระบบสาร สนเทศ 1.พัฒนาฐานข้อมูล 2……………. 3……………. 1.สร้างและใช้ฐานข้อมูลด้านต่างๆ 1.ตั้งคณะทำงาน 2.สำรวจ/รวบรวมข้อมูล 3.วิเคราะห์/กำหนดประเภทข้อมูล 4. สร้างฐานข้อมูล 5.เชื่อมโยงระบบข้อมูล 6.จัดหาเทคโนโลยีและพัฒนา website 1.จำนวนครั้งของการประชุมคณะทำงาน 2.จำนวนฐานข้อมูลที่จำเป็น 3.มีระบบการเชื่อมโยง(website วิทยุชุมชน/สื่อสิ่งพิมพ์ฯลฯ) 5.มีการแลก เปลี่ยนและใช้ข้อมูลในการวางแผนพัฒนา KPI:การเชื่อมโยงและใช้ข้อมูล ในการวางแผน/การเรียนรู้ร่วมกัน KRI:ร้อยละ 95 ของหน่วยงานในพื้นที่มีการใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน

ตัวอย่าง:การนิยามวัตถุประสงค์ ของยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ (1) กลยุทธ์สำคัญ (2) กิจกรรมสำคัญ (3) มาตรการทางวิชาการ (วิธีทำ/กระบวน/เทคนิคอย่างไร) (4) ตัวชี้วัดผลงาน(การกระทำ)(PI) (5) ตัวชี้วัดผลสำเร็จ (KPI) 1 ตัวต่อ 1เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ (6) ตัวชี้วัดผลลัพธ์(KRI) (7) การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกในชุมชน 1.พัฒนาระบบเฝ้าระวังของชุมชน 2…………. 3………… 1.การวางแผนและดำเนินงานเฝ้าระวังและควบคุมโรคแบบมีส่วนร่วม 3…………. 1.ประสานงานแกนนำ/อสม. 2.จัดเวทีการเรียนรู้ 3.สำรวจ/รวบรวมข้อมูลและสถานการณ์แหล่งโรคในชุมชน 4.การวางแผนเฝ้าระวังโรค 5.เพิ่มช่องทางการสื่อสารผ่านวิทยุชุมชน 6.มีทีมเคลื่อนที่เร็วเพื่อควบคุมโรคทันทีที่สงสัย 1.จำนวนครั้งของการประชุมคณะทำงานฯ 2.มีข้อมูลสถานการณ์โรคและความเสี่ยงในชุมชน 3.มีแผนการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกในชุมชน 4.มีรายงานผลการดำเนินงานทุกระยะ KPI:การเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่องและรายงานสถานการณ์โรคทันทีที่สงสัย KRI: อัตราการป่วย/ตายด้วยโรคไข้หวัดนก

สวัสดี