Jig and Fixture Technology วิชา เทคโนโลยีการสร้างอุปกรณ์จับยึด รหัส 5610303 3 หน่วยกิต Jig and Fixture Technology อ.ธรรม์ณชาติ วันแต่ง B.Eng (Industrial Engineering) SWU. M.Eng (Metal Forming Technology) KMUTT. สาขาเทคโนโลยีการผลิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
5610303 เทคโนโลยีการสร้างอุปกรณ์จับยึด วิชา เทคโนโลยีการสร้างอุปกรณ์จับยึด รหัสวิชา 5610303 จำนวน 3 หน่วยกิต ทฤษฏี 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ ปฏิบัติ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ 5610303 เทคโนโลยีการสร้างอุปกรณ์จับยึด Jig and Fixture Technology 3 ( 2-2-5 ) การสร้างอุปกรณ์จับยึดงาน และอุปกรณ์จับงานเจาะ ที่ประยุกต์ใช้ในการผลิต ด้วยเครื่องมือกลต่างๆ วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากอุปกรณ์จับยึดงาน และอุปกรณ์จับงานเจาะ ปรับปรุงชิ้นส่วนที่เป็นองค์ประกอบอุปกรณ์จับยึดงาน และอุปกรณ์จับงานเจาะ
เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเวลาเรียน 10 คะแนน คะแนนความประพฤติ (กฎมหาวิทยาลัย) 10 คะแนน คะแนนคำนวณราคา Jig and Fixture 10 คะแนน คะแนนปฏิบัติงาน 20 คะแนน คะแนนโมเดลงาน,งานสำเร็จ 20 คะแนน คะแนนสอบปลายภาค 30 คะแนน 100 คะแนน
เกณฑ์ คะแนนร้อยละ 80-100 ได้ A คะแนนร้อยละ 75-79 ได้ B+ คะแนนร้อยละ 70-74 ได้ B คะแนนร้อยละ 65-69 ได้ C+ คะแนนร้อยละ 60-64 ได้ C คะแนนร้อยละ 55-59 ได้ D+ คะแนนร้อยละ 50-54 ได้ D คะแนนร้อยละ 49-0 ได้ F
เอกสารประกอบการเรียน Jigs and Fixtures Design, Second Edition, EDWARD G. HOFFMAN การออกแบบอุปกรณ์นำเจาะและจับงาน ศุภชัย รมยานนท์ การออกแบบอุปกรณ์จับยึดชิ้นงาน ผศ.วชิระ มีทอง
เนื้อหาวิชา chapter 1__Introductin_to_Jig_&_Fixture_Design chapter 2__Purpose of Tool design chapter 3__Types and Functions of Jigs chapter 4__Types and Functions of Fixtures chapter 5__Work holding chapter 6__Clamping and Work holding chapter 7__Supporting and Locating Principles chapter 8__Construction chapter 9__Initial Design chapter 10__Tool Drawing chapter 11__Design of Drill Jigs chapter 12__Design of Milling Fixture chapter 13__Modulae Fixture chapter 14__Design Economics chapter 15__Material of Jig & Fixture
Jig and Fixture Technology
Overview 1. Jig and Fixture คืออะไร 2. มีความสำคัญอย่างไร 3. พื้นฐาน Jig and Fixture 4. ลักษณะการทำงานเฉพาะและชิ้นส่วน 5. การประยุกต์ใช้
Jig and Fixture คืออะไร คือ อุปกรณ์ที่ใช้ยึด จับ ชิ้นงานในตำแหน่งที่ต้องการ เพื่อกำหนดให้เกิดความเที่ยงตรง เพื่อทำงานได้หลายครั้งและเที่ยงตรง - คือส่วนที่ใช้ประกอบกับเครื่องจักรในการทำงาน
Jig = ? Fixture = ?
1.ความสูญเสียเนื่องจากการผลิตมากเกินไป (Over Production) มีความสำคัญอย่างไร ความสูญเสียในกระบวนการผลิต 7 ประการ (7 Wastes) 1.ความสูญเสียเนื่องจากการผลิตมากเกินไป (Over Production) 2. ความสูญเสียเนื่องจากการเก็บวัสดุคงคลังที่ไม่จำเป็น ( Unnecessary Stock ) 3. ความสูญเสียเนื่องจากการขนส่ง ( Transportation ) 4.ความสูญเสียเนื่องจากการรอคอย ( Delay/Idle time )
Jig and Fixture ความสูญเสียในกระบวนการผลิต 7 ประการ (7 Wastes) 5. ความสูญเสียเนื่องจากการผลิตของเสีย / แก้ไขงานเสีย (Defects / Rework) Jig and Fixture 6. ความสูญเสียเนื่องจากกระบวนการผลิตที่ขาดประสิทธิผล (Non-effective Process) 7.ความสูญเสียเนื่องจากการเคลื่อนไหว ( Motion )
Jig and Fixture พื้นฐาน Clamps Chucks
Jig and Fixture พื้นฐาน Vises Bushings
Jig and Fixture พื้นฐาน Modular Fixturing Application
1.ความสูญเสียเนื่องจากการผลิตมากเกินไป (Over Production) 1. เกิดความต้องการพื้นที่ในการจัดเก็บ WIP 2. ความไม่ปลอดภัยในการทำงาน เมื่อมี WIP มากและจัดเก็บอย่างไม่เป็นระเบียบ 3. เกิดการขนย้ายไปเก็บชั่วคราวเมื่อใช้ไม่หมด หรือ มีการเปลี่ยนคำสั่งการผลิต ในการขนย้าย 4. ของเสียจากกระบวนการก่อนหน้าไม่ได้รับการแก้ไขทันที เพราะค้างอยู่ใน WIP 5. ต้นทุนวัสดุ แรงงาน ค่าโสหุ้ยที่ใช้ไปแล้วในการผลิตจม 6. ปิดบังปัญหาต่างๆในกระบวนการผลิต 7. ใช้เวลาไนการผลิตนาน
2. ความสูญเสียเนื่องจากการเก็บวัสดุคงคลังที่ไม่จำเป็น ( Unnecessary Stock ) 1.ต้องใช้พื้นที่ในการเก็บรักษาวัสดุคงคลัง 2.ต้นทุนวัสดุจม 3.วัสดุเกิดการเสื่อมคุณภาพ ถ้าขาดการจัดเก็บแบบเข้าก่อนออกก่อน ( First-in-First out , First-come-First-serve ) 4.เกิดความซ้ำซ้อนในการสั่งซื้อ 5.ต้องการแรงงานในการจัดการจำนวนมาก 6.เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงคำสั่งการผลิต ก็จะเกิดวัสดุตกค้างอยู่ในคลัง
3. ความสูญเสียเนื่องจากการขนส่ง ( Transportation ) 1. เกิดต้นทุนการขนส่ง 2. วัสดุเสียหายจากการตกหล่น 3. วัสดุเกิดการสูญหายและตกหล่นไประหว่างทางที่ทำการขน 4. อุบัติเหตุ อาจเกิดขึ้นได้หากผู้ทำการขนส่งขาดความระมัดระวัง หรือใช้ความเร็วมากเกินไปในการขนส่ง 5. สูญเสียเวลาในการผลิตถ้าการขนส่งวัสดุไม่ทันต่อการผลิต
4. ความสูญเสียเนื่องจากการผลิตของเสีย / แก้ไขงานเสีย (Defects / Rework) 1. ต้นทุนสูญไปโดยเปล่าประโยชน์ 2. เสียเวลา 3. ต้องปรับเปลี่ยนแผนการผลิต 4. เกิดการทำงานซ้ำเพื่อแก้ไขงาน 5.สัมพันธ์ภาพระหว่างแผนกไม่ดี 6.สิ้นเปลืองสถานที่ในการจัดเก็บและกำจัดของเสีย
5. ความสูญเสียเนื่องจากกระบวนการผลิต ที่ขาดประสิทธิผล (Non-effective Process) 1. ต้นทุนที่ไม่จำเป็น 2. เสียเวลาในการเตรียมและการผลิตที่ไม่จำเป็น 3. มีงานระหว่างกระบวนการผลิต (Work In process) มาก 4. สูญเสียพื้นที่ในการทำงาน
6.ความสูญเสียเนื่องจากการรอคอย ( Delay/Idle time ) 1. เสียเวลาโดยไม่สามารถผลิตงานออกมาได้ในขั้นตอนนั้น 2. เกิดต้นทุนค่าเสียโอกาส 3. ขวัญและกำลังใจต่ำ
7.ความสูญเสียเนื่องจากการเคลื่อนไหว (Motion ) 1. เกิดระยะทางในการเคลื่อนที่ 2. เกิดความล้าและความเครียด 3. อุบัติเหตุ 4. เสียเวลาและแรงงานในการปฏิบัติงานที่ไม่จำเป็น
เอกสารอ้างอิง Chapter 26 Jigs and Fixtures www.accd.edu/sac/engtech/CADD/Rstrube/TECHNCAL_DRAFTING/Student%20Tutorial%20Power%20Points/CH26.PPT 7wastes http://doi.eng.cmu.ac.th/~kobkit/index_files/Assignment/7%20wastes/7wastes.ppt