นโยบายการทำงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์ ประจำปี 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
Advertisements

 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
การเบิกค่าใช้จ่ายสำหรับการฝึกอบรมและ การประชุมราชการ
ด้านหน้า ผอ.งบ. นางสาวสุขใจ งามเลิศ กองการเงินและบัญชี กทม.
อมรรัตน์ พีระพล กลุ่มประกันสุขภาพ 3 ธ.ค.55
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
วัตถุประสงค์โครงการ 3.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพเครือข่ายโดยการอบรมให้ความรู้ในการสร้างเสริมสุขภาพจิตในครอบครัวและในชุมชน 3.2 พัฒนาตัวอย่างการดำเนินงานสุขภาพจิตในครอบครัวและชุมชนนำไปสู่ชนชนเข้มแข็ง.
โครงการครอบครัวอบอุ่นชุมชนแข็งแรง โครงการความร่วมมือระหว่าง
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แนวทางการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพ ในภาพรวม ปีงบประมาณ 2551
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
บทบาทหน้าที่ผู้ตรวจราชการกรม
หลักเกณฑ์ และ ระเบียบการเงิน สำหรับเครือข่าย iTAP
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
1 ก.พ.2550 ห้องประชุมดาวเรือง
การยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามระเบียบพัสดุ
มาตรการประหยัดในการเบิกค่าใช้จ่าย
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการโรงพยาบาล
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ดำเนินงานโดย คปสอ. บ้านโป่ง
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
ข้อสังเกตผลการ รังวัดจัดที่ดิน ของ ส. ป. ก. จังหวัด ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ 2551 โดย หัวหน้าผู้ตรวจราชการ ( นางมนต์ทิพย์ รุจิกัณหะ ) ในการประชุมสัมมนาเพื่อเร่งรัด.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
นท.หญิง รุ้งทิพย์ ทองสุกโชติ
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาล สร้างเสริมสุขภาพตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
การปฏิบัติตามแนวทางถ่ายโอนภารกิจฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ 1
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
การสัมมนากลุ่ม 3 ความสำเร็จในการจัดทำแผนงาน/โครงการ
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
มาตรการเร่งรัดติดตาม การใช้จ่ายเงินปีงบประมาณ พ.ศ.2557
การดำเนินงานประจำปี2557 สท.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย
การประชุมกลุ่มระดมความเห็น เพื่อเชื่อมโยงและออกแบบการพัฒนาศักยภาพ อสม
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Pre NT
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่าย
งบเงินอุดหนุน ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ณ ห้องประชุมทันตสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
เอกสารประกอบการขอเบิก
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
ประเด็นการตรวจราชการที่ ๕ : ประสิทธิภาพของการ บริหารการเงินการคลัง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง ตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถ.
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นโยบายการทำงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์ ประจำปี 2558 โดย นายแพทย์สมพงษ์ จรุงจิตตานุสนธิ์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2557 ณ ห้องประชุมลี้ลอย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์

นโยบายการทำงาน 1. ปรับกระบวนงานประเมินผล และควบคุมกำกับงานแบบเดิม เป็นการ Coaching 2. บูรณาการการประชุม อบรม สัมมนา 3. ปรับราคากลางให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน 4. การจัดทำแผน และส่งแผนปฏิบัติการระดับอำเภอ 5. งบพื้นฐาน

1. ปรับกระบวนงานประเมินผลและควบคุมกำกับงานแบบเดิม เป็นการ Coaching สถานการณ์ : 1. จากระบบนิเทศงานและตรวจเยี่ยมหน่วยบริการระดับอำเภอ แบบเดิมที่เน้นการชี้แจงวิธีการปฏิบัติเพื่อบรรลุผลสำเร็จตามตัวชี้วัด ซึ่งไม่ก่อให้เกิดการพัฒนางาน และงานประจำหลายงานไม่ได้รับการติดตาม และข้อชี้แนะเพื่อการปรับปรุงพัฒนางาน 2. จากระบบประเมินผลที่ผ่านมา ไม่มีอำนาจจำแนก หรือสะท้อน ปัญหาการปฏิบัติงานได้อย่างแท้จริง โดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากประสบการณ์ทำงานของผู้ประเมินที่น้อยกว่าผู้รับการประเมิน และการมุ่งเน้นให้ได้คะแนนมากกว่าการพัฒนางาน

ปรับกระบวนงานการประเมินผลและการ Coaching ดังนี้

4. การแบ่งอำเภอรับผิดชอบ และหัวหน้าทีม Coaching ทีมที่ 1 หน.ทีม นพ.ภูวเดช สุรโคตร ได้แก่ อ.สตึก นาโพธิ์ บ้านใหม่ฯ คูเมือง แคนดง พุทไธสง รวม 6 อำเภอ ทีมที่ 2 หน.ทีม รองนิภา สุทธิพันธ์ ได้แก่ อ.เมือง ลำปลายมาศ หนองหงส์ กระสัง ห้วยราช บ้านด่าน รวม 6 อำเภอ ทีมที่ 3 หน.ทีม ภก.สมพร อุทิศสัมพันธ์กุล ได้แก่ อ.ประโคนชัย ละหานทราย บ้านกรวด โนนดินแดง ปะคำ พลับพลาชัย รวม 6 อำเภอ ทีมที่ 4 หน.ทีม ทพ.จีรศักดิ์ ทิพย์สุนทรชัย ได้แก่ อ.นางรอง หนองกี่ ชำนิ เฉลิมพระเกียรติ โนนสุวรรณ รวม 5 อำเภอ 5. มุมมองในการค้นหาปัญหา ได้มาจาก มุมมองระดับจังหวัด และระดับอำเภอ

2. บูรณาการ การประชุม อบรม สัมมนา สถานการณ์ จากการขับเคลื่อนเพื่อถ่ายทอดและสนับสนุนวิชาการจากระดับจังหวัดสู่อำเภอและตำบล ที่ผ่านมา ส่วนใหญ่ใช้กระบวนการ จัดประชุม อบรม สัมมนา ทำให้เจ้าหน้าที่มีเวลาในการปฏิบัติงานในพื้นที่ค่อนข้างน้อย กรอบแนวทางการบูรณาการ 1. บูรณาการหลายงานที่มีเป้าหมายเดียวกัน 2. จัดทำคู่มือการปฏิบัติงานให้เป็นแนวทางการทำงานที่ชัดเจน 3. มีการส่งกลับข้อมูลและผลงาน (feedback) ให้เป็นปัจจุบัน (Realtime)

3. ปรับราคากลางให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน 1. ปรับราคากลางสำหรับหน่วยงานระดับจังหวัด 2. ปรับราคากลางสำหรับหน่วยงานระดับอำเภอ ดังนี้ อัตราค่ากลางสำหรับการจัดทำแผนปฏิบัติการ ปี 2558 กรณีระดับจังหวัด 1. ค่าอาหารกลางวันและอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม ในสถานที่ราชการ (เน้นใช้ห้องประชุม สสจ.บร.) 1.1 กรณีไม่มีวิทยากร อาหารไม่เกิน 70 บาท อาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 2 มื้อ ไม่เกินมื้อละ 25 บาท รวมไม่เกิน 120 บาทต่อหัวต่อวัน 1.2 กรณีมีวิทยากร อาหารไม่เกิน 80 บาท อาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 2 มื้อ ไม่เกินมื้อละ 25 บาท รวมไม่เกิน 130 บาทต่อหัวต่อวัน 1.3 กรณีเฉพาะอาหารว่างและเครื่องดื่ม ไม่เกินมื้อละ 25 บาท

อัตราค่ากลางสำหรับการจัดทำแผนปฏิบัติการ ปี 2558 2. กรณีจัดที่โรงแรม อาหารกลางวัน และอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม ไม่เกิน 300 บาท กรณีระดับอำเภอ ให้ปรับตามความเหมาะสมและสถานการณ์การเงินของอำเภอ โดยให้คณะกรรมการ CFO ระดับอำเภอ เป็นผู้พิจารณา

อัตราค่ากลางสำหรับการจัดทำแผนปฏิบัติการ ปี 2558 3 ระดับจังหวัดให้งดการจัด OD และปรับเป็นการประชุมนอกเขตจังหวัด ภาคเหนือไม่เกินจังหวัดพิษณุโลก ภาคใต้ไม่เกิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ภาคกลางและอีสานได้ทุกจังหวัด โดยให้เบิกจ่ายค่าอาหาร ค่าจ้างเหมารถ จากโครงการระดับจังหวัด ส่วนค่าใช้จ่ายค่าที่พัก และอื่นๆ ให้เบิกจากต้นสังกัด ส่วนระดับอำเภอ กรณี OD ไม่เกิน 5000 บาท/คน 4. ค่าวัสดุอบรม/ประชุม/สัมมนา ไม่เกิน 30 บาทต่อคน 5. ค่าน้ำมัน เขียนรวมในโครงการ ไม่เกิน 600 บาทต่อครั้ง กรณีส่วนเกินเบิกกองกลาง (เฉพาะระดับจังหวัด)

อัตราค่ากลางสำหรับการจัดทำแผนปฏิบัติการ ปี 2558 6. ค่าเงินรางวัล 6.1 ระดับจังหวัด กรณีรายบุคคล รางวัลที่ 1 สามพัน รางวัล ที่ 2 สองพัน และรางวัลที่ 3 หนึ่งพัน 6.2 ระดับจังหวัด กรณีรายเครือข่าย รางวัลที่ 1 ห้าพัน รางวัลที่ 2 สามพัน รางวัลที่ 3 สองพัน 6.3 ระดับจังหวัด กรณีเป็นพวงบริการ รางวัลที่ 1 หนึ่งหมื่นบาท รางวัลที่ 2 เจ็ดพันบาท รางวัลที่ 3 ห้าพันบาท 6.4 ระดับเขต/ประเทศ รางวัลที่ 1 ห้าพัน รางวัลที่ 2 สามพัน รางวัลที่ 3 สองพัน

สวัสดี