นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
Advertisements

งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบในการทำงาน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
เรื่อง การแก้ปัญหาการเรียนรู้ การวัดการกระจายสัมบูรณ์ โดยใช้วิธีทำแบบฝึกหัดทบทวน และทดสอบหลังบทเรียนของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
***นำเสนอผลงานวิจัย***
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
การแก้ปัญหาการขาดเรียน ในรายวิชาโครงการ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ด้วยวิธีทัศน ศึกษาแบบบูรณาการ รายวิชา งานห้องผ้าและ ซักรีด ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาการโรงแรม.
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ การแก้ปัญหาทักษะการคำนวณ ของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 วิชากลศาสตร์โครงสร้าง สาขางานสถาปัตยกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

ปัญหาการวิจัย ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ผู้วิจัยได้รับมอบหมายให้ดำเนินการสอน นักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 สาขางานสถาปัตยกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ในรายวิชากลศาสตร์โครงสร้าง จากการจัดการเรียนการสอน ผู้วิจัยสังเกตจากการเรียนพบว่ามีนักศึกษาจำนวนมากขาดทักษะในการคำนวณตัวเลขต่าง ๆ ทำให้การจัดการเรียนการสอนดำเนินไปได้ล่าช้ากว่าที่ควรจะเป็น จากเหตุผลดังกล่าว ทำให้ผู้วิจัยสนใจที่แก้ปัญหาทักษะการคำนวณ วิชากลศาสตร์โครงสร้าง เพื่อหาแนวทางที่ดีในการนำมาปรับปรุงและพัฒนาทักษะการคำนวณของนักศึกษา และเพื่อให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

วัตถุประสงค์ ชั้นปีที่ 3 สาขางานสถาปัตยกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาทักษะการคำนวณ วิชากลศาสตร์โครงสร้าง ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขางานสถาปัตยกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยี โปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่  

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขางานสถาปัตยกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ที่ลงทะเบียนเรียนวิชากลศาสตร์โครงสร้าง ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 จำนวน 25 คน กลุ่มตัวอย่าง อาศัยการเลือก กลุ่มตัวอย่าง คือ เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง โดยการสังเกตห้องสถาปัตยกรรม 3101 สาขางานสถาปัตยกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยี โปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ จำนวน 5 คน

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กรอบแนวคิด ตัวแปรต้น กระบวนการสอนโดยใช้วิธีเพื่อนช่วยเพื่อน ตัวแปรตาม ทักษะการแก้ปัญหา การคำนวณ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

เครื่องมือในการวิจัย 1. จัดทำสมุดบันทึกและประเมินผลการเรียนรายวิชา 2. เก็บรวบรวมข้อมูล โดยการตรวจสอบความถูกต้องของนักศึกษาในการคำนวณงานในแต่ละสัปดาห์ 3. วิเคราะห์ข้อมูล โดยคำนวณหาค่าร้อยละ 4. สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดย นำค่าเฉลี่ยร้อยละของการส่งงานสัปดาห์ที่ 1-8 มาเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยร้อยละของการส่งงาน สัปดาห์ที่ 9-17

แผนภูมิ เปรียบเทียบ ก่อนการใช้วิธีเพื่อนช่วยเพื่อน และหลังการใช้วิธีเพื่อนช่วยเพื่อน

สรุปผลการวิจัย การที่ผู้สอนได้ใช้วิธีการเพื่อนช่วยเพื่อนมาใช้การแก้ปัญหาการขาดทักษะการคำนวณ วิชากลศาสตร์โครงสร้าง ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขางานสถาปัตยกรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ โดยการเปรียบเทียบผลการทำแบบฝึกหัดของสัปดาห์ที่ 1-9 เปรียบเทียบกับ สัปดาห์ที่ 10-17 เห็นได้ว่านักศึกษากลุ่มตัวอย่างมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีขึ้น จากร้อยละ 61 เป็นร้อยละ 81

ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ทำให้อาจารย์ผู้สอนทราบแนวทางในการแก้ปัญหาการขาดทักษะการคำนวณ กลศาสตร์โครงสร้าง 2. เป็นแนวทางให้อาจารย์ผู้สอนในรายวิชาอื่น ๆ ได้ศึกษาและนำไปสำรวจทักษะด้านต่าง ๆ ของนักศึกษาในระดับชั้นต่าง ๆ 3. ได้ช่วยปรับปรุงและพัฒนาทักษะการคำนวณของนักศึกษา  

ข้อเสนอแนะ 1. อาจารย์ผู้สอนในวิชาอื่น ๆ ควรใช้วิธีการเพื่อนช่วยเพื่อนมาใช้ แก้ปัญหาการขาดทักษะการคำนวณ เพื่อช่วยให้การเรียนเป็นไปได้ อย่างรวดเร็ว และสัมฤทธิ์ผลตามวัตถุประสงค์ 2. ในการสอนอาจารย์ผู้สอนต้องเอาใจใส่นักศึกษาอย่างใกล้ชิด เพื่อ เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ซักถามข้อสงสัยในขณะทำการเรียนการสอน ให้มากที่สุด 3. ควรมีการเสริมแรง ยกย่องชมเชย และให้กำลังใจกับนักศึกษา อย่างสม่ำเสมอ ในขณะที่ทำการเรียนการสอน เพื่อสงเสริมให้นักศึกษา มีกำลังใจในการเรียน