คุณครูพรพิมล ตันติวรธรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
บริษัท กุ้งหลวงไคโตซาน จำกัด
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
สื่อการสอน เรื่องการบวก ลบ คูณ หาร ระคน
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
เรื่อง การคูณจำนวนที่มีหนึ่งหลัก กับจำนวนที่มีหนึ่งหลัก
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่อง เวลา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
สื่อบทเรียน multipoint
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
ทีมรักนวลสงวนตัว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 2 สัดส่วน สัดส่วน หมายถึง ประโยคที่แสดงการเท่ากันของอัตราส่วนสองอัตราส่วน.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
โรงเรียนชุมชนบ้านบือแนปีแน สพป.ปัตตานี เขต 2
การพิมพ์การค้นคว้าอิสระ และวิทยานิพนธ์
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
พาราโบลา (Parabola) โรงเรียนอุดมดรุณี ครูฐานิตดา เสมาทอง
การบวก.
คุณครูพรพิมล ตันติวรธรรม โรงเรียนบ้านวังไผ่ สพท.กาญจนบุรี เขต 2
คุณครูพรพิมล ตันติวรธรรม โรงเรียนบ้านวังไผ่ สพท.กาญจนบุรี เขต 2
Operators ตัวดำเนินการ
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การบวกเลขไม่เกิน 2 หลัก
โรงเรียนบ้านทุ่งหงาว
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องการบวกเลข2หลัก
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
 คู่มือการรายงานจุดเน้นออนไลน์ 2555 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาสเขต 1 เว็บไซต์รายงานจุดเน้นสำหรับสถานศึกษา
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
การแก้โจทย์ปัญหาเซตจำกัด 2 เซต
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
การปรับเงินเดือน กรณีที่เงินเดือนยังไม่ถึงขั้นต่ำของระดับ
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
โรงเรียนบ้านวังไทร อำเภอปากช่อง สพท.นม. เขต 4
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
แผนการจัดการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คณิตศาสตร์ ( ค 31101) กราฟและ การนำไปใช้
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
Parts of the Body กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดย ครูชาลิดา รายรัตน์ โรงเรียนบ้านโป่ง สพท.เชียงราย เขต 2.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
การบวกที่มีผลบวกไม่เกิน 9 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คุณครูพรพิมล ตันติวรธรรม สมการ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จัดทำโดย คุณครูพรพิมล ตันติวรธรรม โรงเรียนบ้านวังไผ่ สพท.กาญจนบุรี เขต 2

สมการ คือ ประโยคสัญลักษณ์ที่มีเครื่องหมาย = เช่น 35 + 5 = 40 7 × 8 = 52 12 – 6 = 20 + 2

คำชี้แจง ประโยคต่อไปนี้เป็นสมการหรือไม่ 9 × 7 = 63 เป็น ไม่เป็น

คำชี้แจง ประโยคต่อไปนี้เป็นสมการหรือไม่ 15 + 6 < 20 ÷ 5 เป็น ไม่เป็น

คำชี้แจง ประโยคต่อไปนี้เป็นสมการหรือไม่ 40 - 16 ≠ เป็น ไม่เป็น

คำชี้แจง ประโยคต่อไปนี้เป็นสมการหรือไม่ 100 ÷ 4 = 5 × 10 เป็น ไม่เป็น

คำชี้แจง ประโยคต่อไปนี้เป็นสมการหรือไม่ 17 + 5 = 11 × 2 เป็น ไม่เป็น

คำชี้แจง จงเขียนเครื่องหมาย  หน้าประโยคสัญลักษณ์ที่เป็นสมการ 9 × 7 = 63 15 + 6 < 20 ÷ 5 40 – 16 ≠ 24 100 ÷ 4 = 5 × 10 17 + 5 17 + 5 = 11 × 2 18 × 0 = 1 × 1 30 × 10 > 200 9 × 3 = 4 × 9 12 × 8 ≠ 12 + 8 12 / 18 = 30 71 × 1 = 71 ÷ 1 8 × 5 × 2 = 8 × 10 37.01 = 30 + 7 + 0.1 10 × 5 = m 18 × 0 < 1 × 1

สมการที่เป็นจริง สมการซึ่งมีจำนวนที่อยู่ซ้ายมือของเครื่อง = เท่ากันกับจำนวนที่อยู่ขวามือ เป็นสมการที่เป็นจริง เช่น 12 + 18 = 30 เป็นสมการที่เป็นจริง 7 + 8 = 8 × 7 เป็นสมการที่เป็นเท็จ 20 – 9 = 11 × 1 เป็นสมการที่เป็นจริง 25 ÷ 5 = 4 เป็นสมการที่เป็นเท็จ

คำชี้แจง จงนำประโยคสัญลักษณ์ที่กำหนดมาใส่ในตารางให้ถูกต้อง คำชี้แจง จงนำประโยคสัญลักษณ์ที่กำหนดมาใส่ในตารางให้ถูกต้อง สมการที่เป็นจริง สมการที่เป็นเท็จ 12 ÷ 3 = 4 (35 ÷ 7) × 100 = 700 9 + 6 = 6 + 4 100 ÷ 4 = 5 × 10 40 + 60 ≠ 60 + 40 61.01 = 60 + 1 + 0.1 2 + 5 = 7 70 + 20 = 70 - 20 17 + 5 < 11 × 2

<Scoreboard will appear here, leave shape as-is.>

และอย่าลืมทำการบ้านนะคะ กลับไปทบทวน และอย่าลืมทำการบ้านนะคะ