จุดประกายการพัฒนาศักยภาพโรงเรียนเด็กไทยแก้มสและบนบาทของทีมวิทยากรระดับเขต วันที่ 5 มกราคม 2557 โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท โดย สง่า ดามาพงษ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
Advertisements

การจัดทำโครงการเฉลิมพระเกียรติ
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
กรมอนามัยยุคใหม่... ก้าวข้ามบริบทที่เปลี่ยนแปลง... แล้วไง?
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
การส่งเสริมทันต สุขภาพในอนาคต มุมมองของนัก โภชนาการ สง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขระดับ 9 กรมอนามัย.
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
Strategy Plan  ออม  การลงทุน  แก้ความจน ช่วยสังคม  เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย กำไร ความเข้มแข็ง ความ มั่นคง ทางการเงิน อย่างสมดุล / ยั่งยืนต่อเนื่อง ความเข้มแข็ง.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การแต่งกายของนักเรียน
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
โภชนบัญญัติ สู่การปฏิบัติเพื่อโภชนาการที่ดี
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
สกลนครโมเดล.
นโยบายกรมอนามัย : โครงการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส
แนะนำคู่มืออบรมหลักสูตร
กรมอนามัย ในบทบาทโครงการ
35 ปี ที่ทรงงาน ทฤษฎีใหม่ในการ “สร้างคน สร้างชาติ” ค้นพบ.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
จริยธรรมของนักธุรกิจอาหาร
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
ผู้อำนวยการสถานศึกษา, รองผู้อำนวยการสถานศึกษา  ที่ปรึกษาโครงการฯ โครงการเสริมสร้างศักยภาพฯ ( แบ่งเป็น 4 กิจกรรมหลัก ) เกษตร สหกรณ์ โภชนาการ สุขภาพ -
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
แผนงาน พัฒนาศักยภาพเครือข่าย เพื่อการขับเคลื่อนงาน อาหารและโภชนาการเชิง รุก โดย นายสง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ 9 กรมอนามัย.
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จุดประกายการพัฒนาศักยภาพโรงเรียนเด็กไทยแก้มสและบนบาทของทีมวิทยากรระดับเขต วันที่ 5 มกราคม 2557 โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท โดย สง่า ดามาพงษ์

เป้าหมายแก้มใส ใช้อาหารและโภชนาการเป็นสะพานเชื่อม สู่มติอื่นเพื่อการพัฒนาคุณภาพคนในชาติ สง่า ดามาพงษ์ Healthy Food, Healthy Kids

แนวคิดแก้มใส สง่า ดามาพงษ์ ระดมทรัพยากรและทุนทางสังคมมาช่วยกัน ปลูกต้นกล้าของแผ่นดิน คนในชุมชนมีความเป็นเจ้าของและขับเคลื่อนงาน อย่างมีความสุข ตัวชี้วัดสุดท้ายคือ ได้คนไทยมีคุณภาพและ ศักยภาพในการสร้างชาติ สง่า ดามาพงษ์ Healthy Food, Healthy Kids

วิทยากรระดับเขต-จังหวัด คือกุญแจดอกสำคัญที่จะไขประตูบรรลุเป้าหมาย คือผู้สร้างให้ผู้หว่านมีศักยภาพหว่านต้นกล้าของแผ่นดิน คือกัลยานิมิตรของเครือข่ายที่อยู่เคียงข้างเพื่อร่วมเดินทางสู่เป้าหมายสุดท้าย สง่า ดามาพงษ์ Healthy Food, Healthy Kids

WHO AM I ? บุคคลผู้เป็นประวัติศาสตร์ เจริญรอยตามพระยุคลบาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ด้านพัฒนาอาหาร โภชนาการและสุขภาพในโรงเรียนแบบครบวงจร “การพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส” ผู้สนับสนุน “การพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส” (เพื่อนคู่คิด มิตรปฏิบัติ) ประสานการทำงานโรงเรียน+ ภาคีเครือข่าย บุคลากร งบประมาณ องค์ความรู้ สื่อ/นวัตกรรม เอื้ออำนวยให้เกิดแรงบันดาล ใจในการทำงานร่วมกัน ผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ “การพัฒนาโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยแก้มใส” 8 องค์ประกอบฯ เนื้อหา สื่อ/นวัตกรรม การบริหารจัดการ ความร่วมมือ การเคลื่อนงานเชิงองค์รวม บุคคลผู้เป็นประวัติศาสตร์ WHO AM I ? สสจ. สพป. ศอ. อปท. ผู้ดูแลติดตาม/เสริมสร้างพลังใจ ชื่นชมสิ่งดีงาม ติดตามเติมเต็มส่วนพร่องขาด พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการ ติดตามประเมินผล พัฒนากลไกการติดตาม ประเมินผลแบบเสริมพลัง (M&E)

หัวใจการขับเคลื่อนงาน สร้างการมีส่วนร่วม “เชื่อมโยง บูรณาการ” ขับเคลื่อนงานแบบองค์รวม

การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เกษตร โภชนาการ และสุขภาพ ปี 2558 เน้นบูรณาการกิจกรรมที่ 1 – 4 , 8 การติดตามภาวะโภชนาการ สมรรถภาพทางกายและสุขภาพนักเรียน -ฐานข้อมูล, แปลผล, ใช้ข้อมูลในการพัฒนางาน 5. การพัฒนาสุขนิสัย และการส่งเสริมสุขภาพ อนามัยนักเรียน นิสัยการกิน สุขนิสัยที่ดี ออกกำลังกาย 3. การจัดบริการอาหาร ตามหลักโภชนาการ,ตามหลักสุขาภิบาล อาหารปลอดภัย,ใช้เกลือไอโอดีน การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน อาคารเรียน บริเวณโรงเรียน โรงอาหาร โรงครัว ห้องน้ำ ฯลฯ มีโภชนาการสมวัย สุขภาพดี ผลการเรียนดี มีจิตสาธารณะ จัดบริการสุขภาพนักเรียน -ตรวจความสะอาดร่างกาย -ปฐมพยาบาล -หนอนพยาธิและ มาลาเรีย 1. เกษตรในโรงเรียน -ปลูกพืชผัก ผลไม้ เพาะเห็ด -เลี้ยงสัตว์, ประมง ฯลฯ 2. สหกรณ์นักเรียน -สหกรณ์ร้านค้า -ออมทรัพย์ การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เกษตร โภชนาการ และสุขภาพ -เกษตรผสมผสาน, สหกรณ์ -สุขบัญญัติ, โภชนบัญญัติ -สุขาภิบาลอาหาร, ออกกำลังกาย ขยายผลสู่ชุมชน

สรุปบทบาท 1.เป็นผู้สร้างผู้หว่าน 2.เป็นผู้ชี้ทางสว่าง 3.เป็นผู้เชื่อมร้อย สง่า ดามาพงษ์ Healthy Food, Healthy Kids