บทที่ 2 จริยธรรมการวิจัยตลาด
จริยธรรมในการวิจัยธุรกิจ จริยธรรม หมายถึง หลักศีลธรรมหรือค่านิยมที่ควบคุมการกระทำของปัจเจกบุคคลหรือกลุ่ม ศีลธรรม คือ การตัดสินใจเกี่ยวกับสิ่งที่ดีหรือเลวในการกระทำของมนุษย์ บรรทัดฐานของสังคม คือ กฎของพฤติกรรมที่ใช้ในกลุ่ม โดยเป็นข้อแนะนำสิ่งที่สมาชิกของกลุ่มควรทำภายใต้สถานการณ์หนึ่งๆ ที่เกิดขึ้น
จรรยาบรรณนักการตลาด ข้อพึงปฏิบัติต่อกลุ่มต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการบริหารงานทางการตลาด ด้านการวิจัยตลาด ละเว้นการแอบอ้างการวิจัยตลาดเพื่อใช้ในการขายสินค้าและบริการ หรือระดมทุนเพื่อกิจกรรมใดๆ ละเว้นการให้ข้อมูลที่บิดเบือนหรือบกพร่องไม่สมบูรณ์ ไม่นำข้อมูลวิจัยของลูกค้าไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตน ปฏิบัติต่อลูกค้าทุกรายอย่างเป็นธรรมและไม่นำข้อมูลอันเป็นความลับของลูกค้าไปเปิดเผย โดยมิได้รับอนุญาต (สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย)
กลุ่มที่ได้รับผลกระทบจากจริยธรรมในการวิจัยธุรกิจ ผู้ให้ข้อมูล ลูกค้า นักวิจัย สาธารณชน
ผู้ให้ข้อมูล หน้าที่ให้ความเป็นจริง สิทธิความเป็นส่วนตัว : เลือกที่จะตอบ รักษาความลับ การปกปิด: วัตถุประสงค์การวิจัย สิทธิในการได้รับการบอกกล่าว : ผู้สนับสนุนการวิจัย
ผู้วิจัย วัตถุประสงค์ของการวิจัยคือการวิจัย ไม่ใช่การขาย การใช้หลักฐาน การใช้ผลการวิจัยเป็นตัวแทนอย่างไม่ถูกต้อง การปกป้องสิทธิในการรักษาความลับของทั้งผู้ให้ข้อมูลและลูกค้า การเผยแพร่ผลสรุปที่ผิดพลาด การใช้ข้อเสนอโครงการวิจัยของคู่แข่ง
ลูกค้า ความสัมพันธ์ที่เปิดเผยกับผู้ทำวิจัย เป้าหมายที่เปิดเผยและซ่อนเร้น ความสัมพันธ์ที่เปิดเผยกับผู้มีส่วนได้เสีย ความเป็นส่วนตัวของผู้ให้ข้อมูล ความผูกพันต่องานวิจัย การกล่าวอ้างถึงการศึกษานำร่อง
สาธารณชน ได้ทราบผลการวิจัยที่สำคัญ งานวิจัยที่กระทบต่อสังคมทำอย่างถูกต้อง