ความรุนแรงอันมีรากฐานจากบทบาทหญิงชาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ช่วยลูกเตรียมพร้อม... พ.ญ.นัทธ์ชนัน จรัสจรุงเกียรติ
Advertisements

สุดยอดเทคนิค (คำแนะนำ) ของฉัน
ทางออก ทางรอดชนบทไทย ในกระแสอาเซียน”
วิกฤตเศรษฐกิจ และ ผลกระทบต่อแรงงาน
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
10 วิธี ดูแลลูกยุคไซเบอร์
รายงานผลการศึกษาทางจิตวิทยา นักเรียนหญิงก่อเหตุทำร้ายกัน
การเฝ้าระวังนักเรียน นักศึกษา ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
เอชไอวีควบคุมได้ เอดส์รักษาได้ เราอยู่ด้วยกันได้
การขัดเกลาทางสังคม (socialization)
การบริโภคอย่างอย่างสร้างสรรค์ รู้เท่าทัน และการใช้เวลาว่าง
สังคมศึกษา.
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
การค้ามนุษย์ นายอนุภาพ ปวงสายใจ คพ50.ค
การค้ามนุษย์.
E-learning Present Human Trafficking.
การค้ามนุษย์ ความหมายของการค้ามนุษย์ สภาพปัญหาของการค้ามนุษย์
การค้ามนุษย์.
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม เบี่ยงเบนทางเพศ.
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
การเปลี่ยนแปลงเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
HUMAN RIGHTS สิทธิมนุษยชน สำนักงานพระธรรมนูญทหารบก.
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
พัฒนาการความสัมพันธ์จากครอบครัวสู่รัฐ
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
การพัฒนานักเรียนโดยครูและโรงเรียน
อัตราการเสียชีวิตวัยรุ่น ทั้งเพศหญิงและชาย อายุ10 – 14 ปี
ของฝากจาก...อาจารย์อ้อ ( ชุดที่ 5 )
พันตำรวจเอกหญิง จันทนา วิธวาศิริ
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการกระทำอันเป็นการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศ พ.ศ. ๒๕๕๓
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
การค้ามนุษย์.
“การค้ามนุษย์”.
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
โรงเรียนละ 2 เล่ม.
โรงพยาบาลทุ่งสง นครศรีธรรมราช
มติชน มติชน Healthcare Healthcare “ การดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุ ” 17 กรกฎาคม 2552 ณ เวทีศูนย์ประชุม แห่งชาติสิริกิติ์ ณ เวทีศูนย์ประชุม แห่งชาติสิริกิติ์
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
หลักการยอกยาการ์ตา คำปรารภ
การสร้างวินัยเชิงบวก
ส่งเสริมสัญจร.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อคุ้มครอง
บทบาทท้องถิ่นกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
สิทธิมนุษยชน กับ ความหลากหลายทางเพศ
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
โดย... นายชัยวัฒน์ ร่างเล็ก ผู้อำนวยการสำนักงานคุมประพฤติจังหวัดระยอง
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ทักษะการใช้กิริยาท่าทางและบุคลิกการเป็นครู
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น

ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
ความเสมอภาคทางเพศ.
ระบบการจัดระดับความเหมาะสมของเกมคอมพิวเตอร์
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรุนแรงอันมีรากฐานจากบทบาทหญิงชาย นางสาววันเพ็ญ สุวรรณวิสิฏฐ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมความเสมอภาคหญิงชาย

ความรุนแรง อันเป็นการล่วงละเมิดต่อบุคคลทั้งทางร่างกายและจิตใจ การกระทำ ทางกาย วาจา ใจ ด้วยวิธีการ บังคับขู่เข็ญ ทำร้าย คุกคาม จำกัด กีดกัน ฯลฯ อันเป็นการล่วงละเมิดต่อบุคคลทั้งทางร่างกายและจิตใจ

ความรุนแรงต่อสตรี เกิดจากอคติทางเพศเป็นส่วนใหญ่ ความรุนแรงต่อเด็ก หมายความรวมถึง การละเลย ไม่สนองต่อความต้องการพื้นฐานของเด็ก ความรุนแรงในครอบครัว คือ การใช้อำนาจครอบงำให้คนในครอบครัวต้องกระทำ ไม่กระทำ หรือยอมรับการกระทำโดยมิชอบ

พ่อลงโทษ ทุบตี หนีออกจากบ้านถูกรุมโทรม เหยื่อความรุนแรง พ่อลงโทษ ทุบตี หนีออกจากบ้านถูกรุมโทรม

เธอและลูกต้องหนีออกจากบ้าน เพราะถูกสามีทุบตี ทำร้ายร่างกาย เหยื่อความรุนแรง เธอและลูกต้องหนีออกจากบ้าน เพราะถูกสามีทุบตี ทำร้ายร่างกาย

เหยื่อความรุนแรงในครอบครัว เด็กและผู้หญิงเป็นส่วนใหญ่

เหยื่อความรุนแรงในครอบครัว เด็กอายุ 8 ปี ถูกมารดาลงโทษรุนแรง

เหยื่อความรุนแรงในครอบครัว ผู้รับบริการในโรงพยาบาลที่เป็นผู้ป่วยนอก

สถิติการถูกทำร้ายในเด็กและสตรีที่มารับบริการที่ศูนย์พึ่งได้ ปี จำนวน โรงพยาบาล จำนวนเด็กและสตรี ที่ถูกกระทำรุนแรง เฉลี่ย การถูกทำร้าย 2547 70 6,951 19 ราย/วัน 2548 109 11,596 32 ราย/วัน 2549 110 15,882 44 ราย/วัน 2550 297 19,068 52 ราย/วัน 2551 582 26,631 73 ราย/วัน 2552 624 23,511 64 ราย/วัน 2553 750 25,744 71 ราย/วัน

ผู้ถูกกระทำ ความรุนแรง ประเภท การกระทำความรุนแรง จำนวนเด็กและสตรีที่ถูกกระทำความรุนแรง ปีงบประมาณ 2553 รายงานโดย บ้านพักเด็กและครอบครัว พม. ผู้ถูกกระทำ ความรุนแรง ในครอบครัว ประเภท การกระทำความรุนแรง ร่างกาย จิตใจ เพศ รวม เด็กถูกกระทำความรุนแรง 291 288 199 776 สตรีถูกกระทำความรุนแรง 414 525 27 966 รวมทั้งสิ้น 705 811 226 1,742

ทำไม ? ต้อง “รุนแรง”

พันธุกรรม ???? จิตวิทยา ???? ความผิดปกติทางจิตใจ ฯลฯ สังคมและสิ่งแวดล้อม ???? ยาเสพติด แอลกอฮอลล์ ฯลฯ เศรษฐกิจ ???? ว่างงาน รายได้ไม่เพียงพอ ฯลฯ วัฒนธรรม ???? ผู้ชายเหนือกว่าผู้หญิง ชายช้างเท้าหน้าหญิงเท้าหลัง

ทำไม “ ผู้หญิง ” จึงถูกกระทำรุนแรง ?????? ทำไม “ ผู้หญิง ” จึงถูกกระทำรุนแรง ??????

ผู้หญิง จึงด้อย และเปราะบาง หรือไม่ ? : เพราะว่าเป็น ผู้หญิง จึงด้อย และเปราะบาง หรือไม่ ?

ผู้ชาย ทำไมต้องทำความรุนแรง ? เป็นความเชื่อที่มีมาแต่อดีต และโบราณXXX เพราะชายเหนือกว่าหญิง เก่งกว่า แข็งแรงกว่า ทำได้ดีกว่า มีอำนาจมากกว่า เป็นความเชื่อที่มีมาแต่อดีต และโบราณXXX

ครอบครัว (พ่อแม่ ปู่ย่าตายาย ญาติ) ปฏิบัติต่อลูกสาว ลูกชาย แตกต่างกันอย่างไรหรือไม่ โรงเรียน / สถานศึกษา (ครูอาจารย์ ระเบียบ กติกา) ปฏิบัติต่อนักเรียน / นักศึกษา แตกต่างกันอย่างไรหรือไม่ สถาบันทางศาสนา ปฏิบัติต่อผู้หญิงผู้ชาย แตกต่างกันหรือไม่ ที่ทำงาน (นโยบาย ระเบียบ เจ้านาย ฯลฯ) ปฏิบัติต่อผู้ปฏิบัติงานหญิงชาย แตกต่างกันอย่างไรหรือไม่ สื่อมวลชน ปฏิบัติต่อ ผู้เป็นข่าว ผู้เสพข่าว หญิงชาย แตกต่างกันอย่างไรหรือไม่ สื่อโฆษณา ตอกย้ำความเป็นหญิง เป็นชาย ที่ไม่เท่าเทียม

ความเป็นหญิง ความเป็นชาย บทบาท หน้าที่ ทัศนคติ ระบบคิด พฤติกรรม คุณลักษณะ 17

Gender ความเป็นหญิง ความเป็นชาย ทำให้ ผู้หญิง และ ผู้ชาย ถูกจัดให้อยู่กันคนละกรอบ 18

เข้มแข็ง ผู้นำ ตัดสินใจเร็ว กล้าหาญ 19

อ่อนหวาน อ่อนโยน เอาใจ ดูแล เรียบร้อย นุ่มนวล ละเอียด รอบคอบ 20

สุภาษิต/ภาษา สะท้อนความเชื่อ วัฒนธรรม ประเพณี สุภาษิต/ภาษา สะท้อนความเชื่อ วัฒนธรรม ประเพณี ผู้ชายเป็นช้างเท้าหน้า ผู้หญิงเป็นช้างเท้าหลัง ชายข้าวเปลือก หญิงข้าวสาร ลิ้นกับฟัน ย่อมกระทบกันเป็นธรรมดา ไฟในอย่านำออก รักวัวให้ผูก รักลูกให้ตี มีลูกสาวเหมือนมีส้วมอยู่หน้าบ้าน ภรรยาเป็นสมบัติของสามี ลูกเป็นสมบัติของพ่อแม่ 21

สิ่งที่กล่าวมาข้างต้นทั้งหมด ท่านเชื่อหรือไม่ว่า สิ่งที่กล่าวมาข้างต้นทั้งหมด ถูกต้อง 22

สถานภาพต่างกัน ความเป็นหญิง ความเป็นชาย บทบาท หน้าที่ ทัศนคติ ระบบคิด พฤติกรรม คุณลักษณะ โอกาสในชีวิตต่างกัน วิถีชีวิตต่างกัน ถูกกำหนดคุณค่าต่างกัน เข้าถึง / ควบคุม ทรัพยากรต่างกัน เวลา เงินทุน เครดิต เทคโนโลยี การเป็นที่ยอมรับ ชื่อเสียง ความเป็นหญิง ความเป็นชายที่สังคมกำหนด มีผลทำให้มีความแตกต่างระหว่างโอกาส วิถีชีวิต การเข้าถึงและควบคุมทรัพยากรที่แตกต่างกันระหว่างหญิงชาย ซึ่งความแตกต่างเหล่านี้ ก่อให้เกิดสถานภาพที่ไม่เท่าเทียมกัน การศึกษา สถานภาพต่างกัน 23

ทำไมผู้หญิงจึงทนอยู่กับความสัมพันธ์ที่รุนแรง? กลัว ไม่มั่นใจว่าจะอยู่เองได้ เห็นแก่ลูก ไม่มีที่ไป อาย ฯลฯ

ความเชื่อผิดๆ ที่ยังดำรงอยู่ สามีมีสิทธิที่จะทำอะไรก็ได้กับภรรยา เรื่องของสามีภรรยา คนอื่นไม่เกี่ยว เมื่อมีปัญหา เป็นความผิดของผู้หญิง ต้องขจัดให้หมดไป

ชีวิตที่ปราศจากความรุนแรง ความเป็นหญิง GENDER ความเป็นชาย ความสัมพันธ์เชิงอำนาจ ระหว่างหญิงชาย Gender Relation ความรุนแรงต่อผู้หญิงGender Based Violence Power Over พลังอำนาจเหนือกว่า พลังอำนาจภายใน Power within กระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจ Empowerment พลังอำนาจร่วม Power with