ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความสนใจ ของนักศึกษาให้สนใจต่อการเรียน ให้มากขึ้น 3. การฝึกทักษะของผู้เรียนให้สามารถ ใช้คอมพิวเตอร์ในการศึกษาหาความรู้ วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อพัฒนาบทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง การใช้ โปรแกรม Altium Designer 10 จำลองการ ทำงานของวงจร ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนของ นักศึกษาที่เรียนด้วยบทเรียนสำเร็จรูป ก่อนเรียน และหลังเรียน 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษา ที่มีต่อ การเรียนการสอนด้วยบทเรียนสำเร็จรูป
ตารางประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้ (E1/E2) ของนักศึกษา ห้อง ทค.2101 รายการ ประสิทธิภาพก่อน การเรียนรู้ (E1) ประสิทธิภาพหลัง การเรียนรู้ (E2) (E1/E2) ผลการเรียนด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การใช้โปรแกรม Altium Designer10 จำลองการทำงานของ วงจร (81.28/88.34) ตารางผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา ห้อง ห้อง ทค.2101 รหัสวิชา / ชื่อวิชาห้อง จำนวน นักศึกษา ผลการเรียน จำนวนร้อยละ ผมผร เขียนแบบอิเล็ก ทรอนิส์ด้วยคอมฯ ทค
ตารางความพึงพอใจของนักเรียน ห้อง ทค.2101 รายการประเมิน xS.D. ระดับ ความ พอใจ ความรู้ความเข้าใจหลังเรียนบทเรียนสำเร็จรูป ดี บทเรียนสำเร็จรูปมีความเร้าใจ น่าสนใจที่จะศึกษา ดี บทเรียนสำเร็จรูปช่วยให้นักเรียนมีทักษะในการหา ความรู้ด้วยตนเอง ดี บทเรียนสำเร็จรูปมีความกระชับ เข้าใจง่าย ดี ระยะเวลาที่ใช้ในการเรียนบทเรียนสำเร็จรูปมีความ เหมาะสม ดี ความพึงพอใจในภาพรวมบทเรียนสำเร็จรูป ดี เฉลี่ยรวม ดี
สรุปผลการวิจัย 1. ประสิทธิภาพของบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง การใช้ Altium Designer 10 จำลองการทำงานของวงจร ( E1/E2 ) มีค่าเท่ากับ 81.28/88.34 ซึ่งสูงกว่า เกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ที่ตั้งไว้ 2. ผลสัมฤทธิ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา เรื่อง การใช้ Altium Designer 10 จำลองการทำงานของวงจร นักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ สาขางานเทคนิคคอมพิวเตอร์ ห้อง ทค.2101 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ประจำปีการศึกษา 2555 จำนวน 42 คน ได้ร้อยละ 95 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่สูง มีค่าเฉลี่ย นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนบทเรียน สำเร็จรูปเรื่อง การใช้ Altium Designer 10 จำลองการทำงานของวงจรโดยใช้ แบบประเมินวัดความพึง พอใจ มีค่าเท่ากับ 4.23 อยู่ในระดับพอใจมาก
ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาวิจัย 1. ได้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างสื่อการเรียน การสอน 2. เสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้แบบใหม่ 3. นักศึกษามีความสนใจต่อสื่อการเรียน มากขึ้น