ประวัติความเป็นมา บ้านหัวหนอง หมู่ที่ 8 เมื่อประมาณ 195 ปีมาแล้ว ชาวบ้าน ได้อพยพมาจากจังหวัดร้อยเอ็ด ประมาณปี พ.ศ มาตั้ง บ้านเรือนอยู่ที่บ้านหนองปลิงใหญ่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประวัติส่วนตัว sunny kongsa.
Advertisements

สำนักงานเกษตรอำเภอปลวกแดง
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ทะเบียนเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร.
กองทุนหลักประกัน สุขภาพ ตำบลภูหลวง ปี 2556
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สถานการณ์ระบบข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุ
การศึกษาดูงานด้านการเพาะเลี้ยงและการส่งเสริมของเจ้าหน้าที่ส่งเสริม ผู้นำหมู่บ้านและเกษตรกรหมู่บ้านเป้าหมายสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ครั้งที่ 1) ภายใต้โครงการพัฒนาการเลี้ยงปลาในชนบทแขวงจำปาสักและแขวงเซกอง.
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
การคัดเลือก อสม.ดีเด่นระดับชาติ ปี ๒๕๕๔ สาขาการส่งเสริมสุขภาพ
สภาพภูมิศาสตร์ อำเภออมก๋อยมีพื้นที่ทั้งหมด 2,099 สภาพภูมิศาสตร์ อำเภออมก๋อยมีพื้นที่ทั้งหมด 2, ตารางกิโลเมตรหรือคิดเป็นพื้นที่ 1,365,
ของดีศรีสำโรง นำเสนอ...โดย นายศรัณยู ยุบล นายทำนุ ร้อยกรอง
โครงการสถานีพัฒนาการเกษตรที่สูง ตามพระราชดำริ ห้วยแม่เกี๋ยง
กลุ่ม อ.จอย ผู้ประกอบการ ร้านอาหารขนมถ้วยยายป่น
กิจกรรมประมงโรงเรียน
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิเชียร อารยะสมสกุล
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวินัย ไชยอุดม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
จังหวัดชลบุรี.
ขนมไทย โดย:นางสาวณัฏฐกา ประทุมมา รหัส ชั้นปี่ที่ 1 กลุ่ม10
เลขที่ 113 หมู่ที่ 3 ต.หนองโดน อ.หนองโดน จ. สระบุรี
ผลการปฏิบัติงาน สำนักงานเกษตรอำเภอศรีนคร เดือน กุมภาพันธ์ 2554
ปัจจัยที่ประสบความสำเร็จ
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
ยินดีต้อนรับ สู่ กศน.ตำบลส้มผ่อ.
ข้าวแต๋น.
นางสาวอติภา สุนทะวงษ์
โครงการข้อมูลท้องถิ่น ต.ขามเรียง อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม
อุปกรณ์และขั้นตอนการทำขนมจีนสมุนไพร
ที่ดิน 200 ไร่ จังหวัดอุดรธานี ของคุณเปรมศักดิ์ ภู่ม่วง
โครงการมหกรรมกีฬาต้านยาเสพติด อบต.น้ำผุด คัพ ครั้งที่ 10 ประจำปี 2551
สภาพทั่วไป ที่ตั้ง  ตำบลพันดอนตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอกุมภวาปี พื้นที่เขตตำบลห่างจากอำเภอประมาณ 6 กิโลเมตรและห่างจากศาลากลางจังหวัดอุดรธานีประมาณ.
NAMPHONG DATA SYSTEM(NDS 1.0) by Samak Sonpirom
หมู่บ้านขนมจีนหมู่ที่3 ตำบลโคกพระ อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม
ชื่อ ตัวเอง ชื่อเล่น ที่อยู่ อายุ วัน เดือนปี เกิดของ ตนเอง ประวัติ การศึกษา ตั้งแต่อดีต จนถึง ปัจจุบัน ชื่อบิดา มารดา สิ่งที่ ชอบ และไม่ ชอบ ความ ใฝ่ฝัน.
โครงการข้อมูล ท้องถิ่น
ความมหัศจรรย์.
นางสาว ดวงเดือน สุธรรมมา
แบบประวัติและผลงานดีเด่น “ เกษตรกรดีเด่น ” ปี 2555 สาขา อาชีพทำนา นายวิสา ยางเอน 42 หมู่ 1 ตำบลนาวังหิน อำเภอพนัสนิคม.
โครงการ ขอบเขตเรื่องการเปลี่ยนแปลงของประเพณีสำคัญในชุมชนแม่ขรี
สรุปผลการจัดตั้งตลาดเกษตรกร ของสหกรณ์การเกษตรสบปราบ จำกัด จังหวัดลำปาง
การใช้ MRCF เพื่อพัฒนาศูนย์ข้าวชุมชน ตำบลบางกะไห นางสาวยุวดี ฮวดวิเศษ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ.
หน้าหลัก สมาชิก ประเพณีของภาคเหนือ ประเพณีของภาคกลาง
การดูแลรักษาต้นทุเรียนเป็นโรค ชื่อจุดถ่ายทอดเรื่อง ไร่นาสวนผสม วิทยากรประจำจุด นางอุษา เปรมมิตร เบอร์ โทรศัพท์ สถานที่ดำเนินการ 46 หมู่ 7 ตำบลกระแจะ.
ด.ช ปวริศร เป็นพนัสสัก ม.2/6 เลขที่31
เทศบาลตำบลวังทรายพูน อำเภอวังทรายพูน จังหวัดพิจิตร
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการศึกษาข้อมูลท้องถิ่น กรณีศึกษา บ้านหัวหนอง หมู่ที่ 8 ตำบลดอนหว่าน อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม

ประวัติความเป็นมา บ้านหัวหนอง หมู่ที่ 8 เมื่อประมาณ 195 ปีมาแล้ว ชาวบ้าน ได้อพยพมาจากจังหวัดร้อยเอ็ด ประมาณปี พ.ศ. 2354 มาตั้ง บ้านเรือนอยู่ที่บ้านหนองปลิงใหญ่ ต่อมาจึงเกิดเหตุการณ์ประหลาด ขึ้น คือ เกิดฟ้าผ่าแม่มาร (หญิงตั้งครรภ์) ขึ้น โบราณถือว่าเป็นลาง ร้าย ชาวบ้านได้เกิดการกลัวจึงอพยพมาตั้งหลักแหล่งใหม่ คือ บ้าน ดอนหว่าน บ้านหนองหล่ม และบ้านหัวหนอง จึงได้เรียกชื่อบ้าน ตามที่ตั้งอยู่หัวหนองปลิงใหญ่ว่าบ้านหัวหนองมาจนถึงปัจจุบัน

อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดต่อกับ บ้านดอนหว่าน ตำบล ดอนหว่าน อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ทิศใต้ ติดต่อกับ บ้านหนองแวงต้อน ตำบลงัวบา อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม ทิศตะวันออก ติดต่อกับ บ้านหนองหล่ม ตำบล ดอนหว่าน อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ทิศตะวันตก ติดต่อกับ บ้านเหล่าหนาด ตำบล ดอนหว่าน อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม

ประชากร จำนวนหลังคาเรือน 157 ครัวเรือน จำนวนประชากรทั้งหมด 776 คน จำนวนหลังคาเรือน 157 ครัวเรือน จำนวนประชากรทั้งหมด 776 คน - เป็นชาย 389 คน - เป็นหญิง 387 คน

การเมืองการปกครอง ผู้ใหญ่บ้าน นายกัณหา ทิพศรีราช ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านคนที่ 1 นายสงวน จันธิราช ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านคนที่ 2 นายประเคน ทะวะ สมาชิก อบต. นายบุญเรือง คงแสนคำ สมาชิก อบต. นายไพรสน ทิพศรีราช กรรมการหมู่บ้าน มี 14 คน

การศึกษา การศึกษาในระดับตามเกณฑ์ มีเด็กไปเรียนที่ศูนย์เด็กเล็กที่ โรงเรียนดอน และระดับอนุบาลประถมและมัธยมศึกษาเรียนที่ โรงเรียนบ้านดอนหว่านหัวหนอง ซึ่งเป็นโรงเรียนในเขตที่รับ บริการของหมู่บ้านหัวหนอง ระยะทางห่างจากโรงเรียนประมาณ 500 เมตร มีหมู่บ้านที่ใช้บริการร่วม 3 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านดอน หว่าน บ้านหัวหนอง บ้านเหล่าหนาด

โรงเรียนบ้านดอนหว่านหัวหนอง

วัดบ้านหัวหนอง ดอนปู่ตา สถานที่สำคัญ วัดบ้านหัวหนอง ดอนปู่ตา

องค์การบริหารส่วนตำบลดอนหว่าน

ปราชญ์ชาวบ้าน คุณตาไม ทิพศรีราช อยู่บ้านเลขที่ 22 หมู่ที่8 บ้านหัวหนอง ตำบลดอนหว่าน อำเภอเมือง จังหวัด มหาสารคาม เป็นหมอสู่ขวัญ หมอน้ำมนต์ หมอแต่งแก้ หมอทำพิธีทางศาสนา ฮีตสิบสอง คลอง สิบสี่ เป่าคางทูม

ขนมธรรมเนียมประเพณี เดือนอ้าย ทำบุญเข้ากรรม เดือนยี่ ทำบุญคูณลาน บ้านหัวหนอง หมู่ที่8 เป็นเกษตรกรรมทำนาเป็นอาชีพหลัก ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีการประกอบพิธีกรรม ต่างๆ มากมายทั้งพิธีกรรมความเชื่อในชีวิตตั้งแต่เกิดจนตายความ เชื่อเกี่ยวกับศาสนาพุทธในรอบปีที่เรียกกันทั่วไปว่า ฮีต 12 มีการ จัดงานประเพณีประจำเดือน เดือนอ้าย ทำบุญเข้ากรรม เดือนยี่ ทำบุญคูณลาน เดือนสาม บุญข้าวจี่ เดือนสี่ บุญผะเวส เดือนห้า บุญสงกรานต์

เดือนหก บุญบั้งไฟ เดือนเจ็ด บุญเบิกบ้าน เดือนแปด บุญเข้าพรรษา เดือนเก้า บุญข้าวประดับดิน เดือนสิบ บุญข้าวสาก เดือนสิบเอ็ด บุญกระฐิน เดือนสิบสอง ลอยกระทง

แหล่งน้ำหมู่บ้านหัวหนอง มี 1 แห่ง คือ หนองปิง

เศรษฐกิจ อาชีพของประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลัก คือ ทำ นาและอาชีพเสริม คือ ทำข้าวเกรียบ ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ปลูกผัก สวนครัว เลี้ยงโค กระบือ ไก่ เป็ด สุกร ซึ่งเลี้ยงเอาไว้ขายเพื่อเป็น รายได้เสริมและเอาไว้บริโภคในครัวเรือนเป็นบางส่วน

หัวหน้ากลุ่ม : นางทองลา จงเทพ ที่อยู่ : หมู่ที่ 8 บ้านหัวหนอง ตำบลดอนหว่าน อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ประวัติและการบริหารจัดการ : เป็นการรวมกลุ่มของแต่ละ ครัวเรือนผลิตข้าวเกรียบพื้นบ้านเพื่อนำไปจำหน่าย

อาชีพในหมู่บ้านหัวหนอง

วัสดุอุปกรณ์ในการทำข้าวเกรียบ เถาว์กะพังโหม

น้ำตาล

ไข่

งา

มะพร้าว

เกลือ

กระเบื้องทับข้าวเกรียบ

พลาสติก

เสื่อ

เครื่องปั่นข้าวเกรียบ

ขั้นตอนการทำข้าวเกรียบพื้นบ้าน นำข้าวสุกที่นึ่งไว้มาลงในเครื่องปั่น

พอเอาข้าวนึ่งลงก็ปั่นแล้วเทน้ำที่แช่เถาว์กะพังโหมเลื่อยๆแล้วนำ มะพร้าว น้ำตาล ไข่ งาและใส่เกลือสักนิดเพื่อได้รสชาติจากนั้นก็ปั้น 8-10 นาที

ปั่นได้ที่แล้วนำออกจากเครื่องปั่นเพื่อจะนำไปแปรรูป

จากนั้นนำมาปั้นเป็นก้อนแล้วทับเป็นแผ่น

แล้วนำมาติดที่เสื่อเพื่อจะนำไปตาก

ข้าวเกรียบพื้นเมือง ( สูตรเถาว์กะพังโหม ) ข้าวเกรียบพื้นเมือง ( สูตรเถาว์กะพังโหม ) ราคาขายปลีกห่อละ 10 บาท ราคาขายส่ง 3 ห่อ 25 บาท