ผู้วิจัย นายสุวัฒน์ สุริยาวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
Advertisements

ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
เรื่อง พัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส นักเรียนระดับ ปวช.1
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาทักษะการต่อวงจรการทำงานแบบอัตโนมัติกระบอกสูบแบบสองทางใน วิชางานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ โดยวิธีการใช้วงจรฝึกปฏิบัติพร้อมแบบประเมินผลของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความสนใจ ของนักศึกษาให้สนใจต่อการเรียน ให้มากขึ้น.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ศึกษาการใช้สื่อ CAI ในการเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
จัดทำโดย นางสาวสุชาภา นรพัลลภ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ.
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
วิชานิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีเม โทร เชียงใหม่ เรื่องวิจัย การแก้ปัญหาของนักศึกษา ชอ. 202 ประกอบวงจรเครื่องขยายเสียงไม่เป็น ในรายวิชา เครื่องเสียง ผู้วิจัย นายนฤเดช.
ทัศนคติของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส
ใช้เกมพัฒนาทักษะการพิมพ์สัมผัส ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
พรชัย กิจเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
ผู้วิจัย นางวราภรณ์ ทะนัน โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวอมรรัตน์ ท่วมแก้ว
การเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทำงานด้านทักษะวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต กรณีศึกษา กิจกรรม การแข่งขัน การจัดแสดงสินค้ากลางแจ้ง.
เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์หนังสือราชการภายนอก ในรายวิชาพิมพ์ไทยด้วยคอมพิวเตอร์ 2 โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอน แบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักศึกษา ระดับ.
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
เรื่องระบบจำนวน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักศึกษาระดับชั้น ปวช.2 ผ่านการทำโครงงาน วิทยาศาสตร์ ชื่อผู้วิจัย : นางสาวยุพารัตน์
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้วิจัย นายสุวัฒน์ สุริยาวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่ งานวิจัยในชั้นเรียน การแก้ปัญหานักศึกษาต่อวงจรลอจิกเกตไม่เป็นด้วยวิธีจัดทำ VDO สาธิต การต่อวงจร ผู้วิจัย นายสุวัฒน์ สุริยาวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่

ปัญหาการวิจัย ในการเรียนการสอนวิชาดิจิตอลเทคนิค เรื่อง การต่อวงจรลอจิกเกต นักศึกษามักมีปัญหาเรื่องของการต่อวงจรไม่เป็น เนื่องจากสาเหตุหลายประการ เช่น ความไม่เข้าใจสะสมเนื่องจากการไม่กล้าถาม ครูสอนเร็วเกินไปนักศึกษาตามไม่ทัน การขาดตัวอย่างในการปฏิบัติ เวลาฝึกปฏิบัติน้อยเกินไปเนื่องจากเรียนแค่ 3 คาบต่อสัปดาห์ เป็นต้น ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลให้ผลการเรียนของนักศึกษาในวิชาดิจิตอลเทคนิคไม่ค่อยดี และกระบวนการเรียนการสอนก็ทำได้ช้าเนื่องจากครูต้องกลับมาทบทวนให้นักศึกษาอยู่บ่อยๆ ดังนั้นผู้จัดทำ จึงได้สร้างงานวิจัยชิ้นนี้ขึ้นมาเพื่อศึกษาว่า VDO สาธิต การต่อวงจรลอจิกเกต มีส่วนช่วยให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้นหรือไม่ อย่างไร

วัตถุประสงค์ของงานวิจัย เพื่อต้องการทราบความสามารถของสื่อ VDO สาธิต การต่อวงจรลอจิกเกต ว่ามีส่วนช่วยให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้นหรือไม่ อย่างไร เพื่อต้องการให้นักศึกษาเป็นผู้ที่มีความสนใจใฝ่รู้ สามารถหาความรู้และฝึกฝนตนเองจากการใช้สื่อการสอนชิ้นนี้ที่บ้าน เพื่อเป็นข้อมูลให้แก่ครูผู้สอนในการพัฒนาสื่อการสอนให้มีความน่าสนใจและมีประสิทธิภาพ ในการเรียนการสอนวิชาอื่นๆ ต่อไป เพื่อให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาดิจิตอลเทคนิค ดีขึ้น

ขั้นตอนในการทำวิจัย การรวบรวมข้อมูล 1. จัดทำสื่อที่จะใช้ในการวิจัยซึ่งก็คือ VDO สาธิต การต่อวงจรลอจิกเกต 2. สอนให้นักศึกษาต่อวงจรลอจิกเกตในคาบเรียน จากนั้นได้ให้ใบงานแก่นักศึกษาไปเตรียมการทดลองที่บ้าน และให้ VDO สาธิต การต่อวงจรลอจิกเกต แก่นักศึกษาไปศึกษาเองที่บ้านด้วย โดยหากนักศึกษาไม่เข้าใจวิธีการต่อวงจรลอจิกเกต ก็สามารถเปิดดูวิดีโอสาธิตการต่อวงจร จากที่บ้านได้ เมื่อนักศึกษาส่งงานก็ทำการตรวจและบันทึกคะแนนแต่ละใบงานลงในแบบบันทึกคะแนนการทำใบงาน เพื่อนำมาสรุปผล 3. ในสัปดาห์ที่ 16 มีการสำรวจความพึงพอใจนักศึกษาทุกคน ในการใช้สื่อการสอน เพื่อนำผลการสำรวจมาวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือและปรับปรุงพัฒนาต่อไป

ตารางแสดงผลการวิจัย ที่ ชื่อ สกุล ใบงานที่ 1 (20) ใบงานที่ 2 (30) ใบงานที่ 3 ใบงานที่ 4 ใบงานที่ 5 รวม 120 เก็บ 40 คะแนน สรุป เกิน 60% (24) 1 นายโชคชัย เป็งหมู 14 23 13 17 21 88 29.33 ผ่าน 2 นายยุทธนา อุดทาโม๊ะ 15 26 18 27 99 33.00 3 นายสุรชัย นาแส 16 22 19 102 34.00 4 นายเอกชัย อำภา 10 95 31.67 5 นายธนากร ธิการ 20 12 84 28.00 6 นายธวัชชัย ปันเหลี้ยม 82 27.33 7 นายวีระชาติ นำมะ 24 91 30.33 8 นายยุทธกาล บุญทอง 81 27.00 9 น.ส.ดารุณี ทนงกิจ 97 32.33

สรุปผลการวิจัย จากการวิจัยโดยให้นักศึกษาทดลองใช้สื่อควบคู่ไปกับการเรียนในห้องเรียน ปรากฏว่านักศึกษาสามารถเรียนรู้บทเรียนได้เร็ว เนื่องจากมีทักษะในการทำงานทั้งในห้องเรียน และที่บ้าน การปฏิบัติการต่อวงจรที่เป็นปัญหาว่านักศึกษาทำได้ช้า เนื่องจากขาดทักษะนั้น ลดลงไปอย่างเห็นได้ชัด คือนักศึกษาสามารถทำใบงานได้คะแนนในระดับดีถึงดีมาก ซึ่งถ้าวัดผลจากคะแนนเก็บการทำใบงานในตารางที่ 1 ก็ปรากฏว่านักศึกษามีคะแนนผ่านเกณฑ์ 60% ทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 ในด้านความพึงพอใจต่อการใช้สื่อ ในตารางที่ 2 และตารางที่ 3 นั้น นักศึกษาได้ให้ความพึงพอใจต่อสื่อวิดีโอคิดเป็นร้อยละ 91.55 หรือระดับ 4.57 สรุปได้ว่าสื่อสาธิตการต่อวงจรดิจิตอลชิ้นนี้ มีส่วนช่วยให้นักศึกษามีผลการเรียนที่ดีขึ้น และควรนำไปพัฒนาต่อยอดทำเป็นสื่อการสอนในหัวข้ออื่นๆ ต่อไป

ภาพประกอบระหว่างการวิจัย

อภิปรายผลการศึกษา จากผลการวิจัยสรุปได้ว่าสื่อและเทคโนโลยีมีส่วนช่วยในกระบวนการเรียนการสอนของครูและนักศึกษา ซึ่งในปัจจุบัน นักศึกษาสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีได้ง่ายมากขึ้น ดังนั้นสื่อการเรียนแบบออนไลน์หรือสื่อที่นักศึกษาสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองก็จะยิ่งมีความสำคัญมากขึ้น อย่างไรก็ตามแม้ว่าสื่อจะช่วยให้กระบวนการสอนของครูง่ายขึ้นและนักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ดีขึ้น แต่ก็ต้องขึ้นอยู่กับครูผู้สอนด้วยว่า ให้ความสำคัญกับการสอนและเอาใจใส่นักศึกษามากน้อยเพียงใด เนื่องจากนักศึกษาบางคนต้องอาศัยแรงกระตุ้น และกำลังใจจากครูผู้สอนและคนรอบข้าง ในการปรับปรุงตนเอง หรือพัฒนาตนเอง ดังนั้นกระบวนการเรียนการสอนที่จะประสบผลสำเร็จนั้นก็ต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างนักศึกษากับครูเป็นหลัก โดยมีสื่อการสอนเข้ามาช่วยให้กระบวนการเรียนการสอนสมบูรณ์มากขึ้นนั่นเอง