ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
Advertisements

ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ชื่อเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความ คงทนในการเรียนรู้เรื่องความรู้เกี่ยวกับแผนธุรกิจ ( Business Plan ) วิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อมรหัส.
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
สมาคมโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
อาจารย์ชนิศา แจ้งอรุณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นางสาวทัศนา จันทะเรือง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ชื่อผลงานวิจัย ศึกษาการพัฒนาทักษะด้านการพิมพ์สัมผัสด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางชุติพัทธ์ ช่างประดิษฐ์ วิทยาอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
ผู้วิจัย นางระเบียบ คุณากร วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์โดยใช้ชุดการสอน ในรายวิชาสุนทรียศาสตร์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์กราฟิก ผู้วิจัย อาจารย์ปนัดดา วรกานต์ทิ
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
โดย อาจารย์นันทิพร ม่วงแจ่ม
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ด้วยวิธีทัศน ศึกษาแบบบูรณาการ รายวิชา งานห้องผ้าและ ซักรีด ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาการโรงแรม.
การพัฒนาพฤติกรรมการกล้าเสดงออก โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ในรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 แผนกการตลาด.
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นายศิวรุจน์ ศรีแจ่มใส
ผู้วิจัย อาจารย์ภารดี เนติเจียม
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาลในด้านทักษะการเขียนโปรแกรม โดยวิธีการจับคู่ดูแลกันของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช

ที่มาและความสำคัญของปัญหา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ขาดทักษะในการเขียนโปรแกรม การเรียนการสอนไม่ราบรื่น ไม่มีความรู้เป็นพื้นฐานมาก่อน ขาดการเอาใจใส่ในการฝึกฝน

วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาลของนักศึกษา สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2. เพื่อให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงคุณค่าในตนเอง(Self Esteem) ที่สามารถช่วยเหลือผู้อื่นได้

ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ตัวแปรต้น กิจกรรมจับคู่ดูแลกัน ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 1 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สมมติฐานการวิจัย ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นหลังจากเรียนรู้ด้วยกิจกรรมจับคู่เพื่อนดูแลกัน

วิธีดำเนินการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ชั้นปีที่ 1 จำนวน 65 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ห้อง 1/1 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ จำนวน 34 คน จัดเรียงตามเกรดเฉลี่ยของภาคเรียนที่ 1 จากมากสุดไปหาน้อยสุด 34 ลำดับ แล้วมาจับคู่โดยการนำผู้ที่เรียนเก่งสุดจับคู่กับผู้เรียนอ่อนสุด เรียงกันไปเป็นคู่ ๆ จนครบทุกคู่ ตามแบบ

วิธีดำเนินการวิจัย 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลางภาคเรียนที่ 2/2556 รายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล โดยมีลักษณะข้อสอบเป็นแบบปรนัย ซึ่งครอบคลุมเนื้อหารายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล หน่วยที่ 1 ภาษาปาสคาลเบื้องต้น และหน่วยที่ 2 คำสั่งรับ/แสดงผล

สถิติที่ใช้ในการวิจัย สถิติพื้นฐาน สถิติพื้นฐานที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล โดยการหาค่าเฉลี่ย (Mean) ทั้งก่อนกิจกรรมและหลังกิจกรรมจับคู่ดูแลกัน

คะแนนเฉลี่ยก่อนกิจกรรม คะแนนเฉลี่ยหลังกิจกรรม ผลการวิจัย พบว่า เปรียบเทียบค่าทั้งก่อนกิจกรรมและหลังกิจกรรมจับคู่ดูแลกัน กลุ่มผู้เรียน จำนวนนักศึกษา คะแนนเฉลี่ยก่อนกิจกรรม คะแนนเฉลี่ยหลังกิจกรรม กลุ่มเรียนเก่ง 17 คน 14.82 16.12 กลุ่มเรียนอ่อน 12.71 14.59 คะแนนเฉลี่ยรวม 13.76 15.35 จากข้อมูลในตาราง พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 ห้อง 1 ทั้งสองกลุ่มมีคะแนนเฉลี่ยสูงขึ้น

สรุปผลการทดลอง 1 นักศึกษาขณะเรียนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล มีพฤติกรรมทางการเรียนในหน่วยที่ 2 คือการส่งงานตามกำหนดคิดเป็นร้อยละ 85 ส่งล่าช้ากว่ากำหนดคิดเป็นร้อยละ 15 2 สรุปกิจกรรมการจับคู่ดูแลกัน พฤติกรรมที่พบ คือ ช่วยกันทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน ปรึกษากันระหว่างเรียน และทบทวนเนื้อหาหลังการเรียนการสอน 3 นักศึกษาที่สอบไม่ผ่านมีจำนวนลดลง

ข้อเสนอแนะ 1 ข้อเสนอแนะในการนำผลวิจัยไปใช้ จากผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าการใช้กิจกรรมจับคู่ดูแลกัน มีผลทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น ดังนั้นควรนำวิธีการนี้ ไปใช้ทดลองกับนักศึกษากลุ่มอื่นที่ต้องการพัฒนาการเรียนรู้อีกด้วย 2 ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป ควรทดลองใช้วิธีการอื่น ๆ เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษาร่วมด้วย เช่น การอภิปรายหน้าห้องเรียน เพื่อเป็นการฝึกพฤติกรรมกล้าแสดงออกของนักศึกษา

ขอบคุณครับ