ตามอาตมาไปอ่านภาษาบาลีกัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน

Advertisements

ระบบ เสียง ในภาษาไทย เสียง เกิดจากลมที่เคลื่อนตัวจากปอดผ่านหลอดลม ลำคอ กล่องเสียง ช่องปาก จมูก เพดาน ลิ้น ฟัน ริมฝีปาก.
CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วงชั้นที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
นางสาวดวงเดือน สร้อยจิตร สำนักงานเขตบางคอแหลม
POWERPOINT ประกอบการสอนกลุ่มสาระภาษาไทย
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
ผู้จัดทำ นางนพมาศ สวัสดินันทน์ ตำแหน่ง ครูผู้สอนวิชาภาษาไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
โรงเรียนมหาชนะชัยวิทยาคม อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
พระไตรปิฎก.
การแจกลูกและการสะกดคำ โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ.เมือง จ. พะเยา
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
รูปแบบการจัดวางสามารถปรับได้ตามความสะดวก -แบบตัวอักษรใช้ THsarabunPSK
ความเชื่อในพระพุทธศาสนา ในทองถิ่นที่ดีต่อสุขภาพกาย
ลักษณะของพุทธศาสนานิกายเถรวาท
พุทธประวัติ.
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
กระบวนวิชา TL 214 การพัฒนาทักษะภาษาไทยรายกรณี
การอ่านคำภาษาสันสกฤตที่เขียนด้วยอักษรไทย
เรื่อง พยัญชนะไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย วิชาภาษาไทย
วิชาวิถีธรรมวิถีไทย รหัส เรื่อง...บาลีศึกษาเบื้องต้น
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (8) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
สาระการเรียนรู้คริสต์ศาสนา
ภาษาวิทยุกระจายเสียง
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
วิชาเลือกเสรี เรื่องภาษาไทย
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความรู้เรื่องเสียงในภาษา
หน่วยนำเข้าข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ

๗.พยัญชนะท้ายพยางค์แม่ กง
๓. พยัญชนะท้ายพยางค์ แม่ กด
๖.พยัญชนะท้ายพยางค์ มาตรากบ หรือแม่กบ.
๒.พยัญชนะท้ายพยางค์“แม่กก”
๔.พยัญชนะท้ายพยางค์“แม่กน”
ทบทวนบทเรียน ENGLISH CLASS 6.
การอ่าน-การเขียนภาษาไทย
คำควบกล้ำ โดย นางอนงค์นาฏ ลาลุน ครู คศ.1 โรงเรียนบ้านโป่งกลางน้ำ
เกมฝึกทักษะการคิดทางภาษาไทย ชุดที่ ๓ เชื่อมโยงชีวิต
เรื่อง คำที่ใช้ รร ( ร หัน)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนชุมชนศิลาเพชร สพท.น่าน เขต ๒
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สงขลา เขต 3
พยัญชนะต้น.
การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด
ภาษาบาลี-ภาษาสันสกฤต
อิติปิโสภควา อรหังสัมมา สัมพุทธ โท วิชาจรณะสัมปันโน สุคโต โลกวิทู อนุตโร ปุริสทัม มะสารถิสัต สัตถา เทวะมนุษย์ สานัง พุทธโท ภควาติ ตั้งนะโม 3 จบ.
มาตราตัวสะกด สื่อการสอนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ชั้นอนุบาล1 โรงเรียนบ้านควนไทรงาม
อาฏานาฏิยปริตร (พระพุทธเจ้า 28 พระองค์ - เดินหน้า)‏
การเขียนรายงาน.
วิชาภาษาไทย เรื่อง สนุกกับพยัญชนะไทย
คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ ( ภาษาบาลี - ภาษาสันสกฤต )
จักรยาน.
เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก
คำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
แม่กม แม่เกย แม่เกอว แม่กน แม่กก แม่กด แม่กบ แม่ ก กา
คำในมาตรา แม่ ก กา แม่ กบ แม่ กก แม่ กง แม่ เกอว แม่ กม แม่ กน แม่ เกย
คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
มาตราตัวสะกด ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดย อรวสา พยุห์ โรงเรียนอนุบาลระนอง
การออกแบบการเรียนรู้
สื่อเสริมความรู้เรื่อง คำ ร หัน (รร)
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านกำพวน
ชื่อเรื่อง ศึกษาผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ การเขียน เรื่องชนิดของคำ วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
พุทธศาสนสุภาษิต.
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตามอาตมาไปอ่านภาษาบาลีกัน

การอ่านคำบาลีไม่ยากเลย โดย ครูชุติมา นาคเอี่ยม คลิกเข้าไปเลย

จุดประสงค์ เพื่อให้นักเรียนรู้จักคำที่มีจากภาษาบาลีมากขึ้น เพื่อให้นักเรียนสามารถอ่านคำที่มาจากภาษาบาลีได้ถูกต้อง คลิก

ประวัติของภาษาบาลี ความหมาย " บาลี " หรือ " ปาลิ " ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2475 คือ ภาษาที่ใช้เป็นหลักในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท , พระพุทธพจน์ ( ป. , ส. , ปาลิ ) และตามปทานุกรม บาลี-อังกฤษ ของสมาคมบาลีปกรณ์ในประเทศอังกฤษแสดงไว้ 2 รูป คือ ปาลิ, ปาฬิ ให้ความหมาย 2 นัย คือ  คลิก

1. แถว , แนว เช่น ทนตปาลิ แปลว่า แถวแห่งฟัน 1. แถว , แนว เช่น ทนตปาลิ แปลว่า แถวแห่งฟัน ปริยัติธรรม , ตำราธรรมของพระพุทธศาสนาที่เป็นหลักดั้งเดิมและใช้เป็นภาษาที่อธิบายขยายความพระพุทธพจน์ เช่น อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา และโยชนา ตามลำดับ นักปราชญ์ทางภาษาและนักการศาสนาให้ความเห็นว่า คือ ภาษาท้องถิ่นของชาวมคธ และเป็นภาษาที่รวบรวมพระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหมด ในปัจจุบันเรียกว่าพระไตรปิฎก คลิก

การอ่านพยัญชนะภาษาบาลี พยัญชนะในภาษาบาลี มี 36 ตัว แบ่งเป็นพยัญชนะวรรค 5 วรรค คือ กะ วรรค คือ ก ข ค ฆ ง มีฐานเสียงเกิดที่คอ จะ วรรค คือ จ ฉ ช ฌ ญ มีฐานเสียงเกิดที่เพดานปาก ฏะ วรรค คือ ฏ ฐ ฑ ฒ น มีฐานเสียงเกิดที่ปุ่มเหงือก ตะ วรรค คือ ต ถ ท ธ น มีฐานเสียงเกิดที่ฟัน ปะ วรรค คือ ป ผ พ ภ ม มีฐานเสียงเกิดที่ริมฝีปาก พยัญชนะเศษวรรค หรือ วรรค มี 8 ตัว คือ ย ร ล ว ส ห ฬ ( มีเสียงเกิดจากฐานต่างกันไป ) หมายเหตุ พยัญชนะทุกตัวสระ "อะ" อยู่ในตัว เวลาอ่านต้อง อ่านว่า กะ ขะ คะ ฆะ งะ เป็นต้นเหมือนกันทุกวรรค คลิก

การอ่านสระในภาษาบาลี สระในภาษาบาลี มี 8 ตัว คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ เมื่อนำไปใช้ก็เขียนรูปสระคงตัว อ่านออกเสียงเหมือนในภาษาไทย คลิก

หลักการอ่านภาษาบาลี มีหลักกว้าง ๆ ดังนี้ 1 หลักการอ่านภาษาบาลี มีหลักกว้าง ๆ ดังนี้          1. พยัญชนะตัวใดที่เขียนโดด ๆ โดยไม่มีสระ ให้อ่านออกเสียง " สระอะ " ( การสะกดแบบบาลีจะไม่ใช้สระอะ )    พยัญชนะที่สระอื่นกำกับก็ออกเสียงตามนั้น เช่น โลภ อ่านว่า โล -พะ              ภควา       อ่านว่า ภะ - คะ - วา               สุคติ       อ่านว่า สุ  -คะ - ติ สุข อ่านว่า สุ -ขะ จิต อ่านว่า จิด- ตะ คลิก

2. การสะกดแบบบาลี มีการใช้ " พินทุ " โดยเขียนเป็นจุดใต้พยัญชนะ(  ฺ  )มีหลักการ ดังนี้ 2.1 เมื่อใช้พินทุจุดใต้พยัญชนะตัวใด พยัญชนะตัวนั้นเป็นตัวสะกด ไม่ต้องออกเสียง เช่น    โหนฺตุ อ่านว่า โหน - ตุ     มหนฺตา อ่านว่า มะ - หัน - ตา     สุขิตตฺตา อ่านว่า สุ - ขิ - ตัด - ตา    องฺควรสฺส อ่านว่า อัง - คะ - วะ - รัด- สะ  คลิก

พฺราหฺมณ อ่านว่า พราม - มะ - ณะ 2.2 บางครั้งใช้พินธุจุดใต้พยัญชนะ เพื่อให้เป็นตัวควบกล้ำ ในกรณีนี้ให้อ่านออกเสียงกึ่งมาตรา เช่น กตฺวา อ่านว่า กัด - ตวา ( เสียง ตะ หน้า วา ออก กึ่งมาตรา ) พฺยาธิ อ่านว่า พยา - ธิ ( เสียง พะ หน้า ยา ออกกึ่งมาตรา ) พฺราหฺมณ อ่านว่า พราม - มะ - ณะ ( เสียง พะ หน้า รา ออกเสียงกึ่งมาตรา คลิก

2.3 ในการสะกดแบบบาลี มีการใช้ “นิคหิต” 2.3 ในการสะกดแบบบาลี มีการใช้ “นิคหิต” ( เขียนเป็นวงกลมเล็ก ๆ ) ถือว่าเป็นพยัญชนะ ออกเสียง แม่กง คือใช้ตัว ง เป็นตัวสะกด เช่น    ปริยาวรุ   อ่านว่า ปะ- ริ- ยา- วะ- รุง ปรํ อ่านว่า ปะ - รัง     ชีวิตํ อ่านว่า ชี - วิ - ตัง     องฺคํ อ่านว่า อัง - คัง  อรหํ อ่านว่า อะ -ระ -หัง ทุติยํ อ่านว่า ทุ -ติ – ยัง ทิวารตฺตึ อ่านว่า ทิ- วา- รัด- ติง คลิก

ลองอ่านคำเหล่านี้ อทํ อ่านว่า................................... อทํ อ่านว่า................................... อํสโต อ่านว่า................................... พฺยคฺฆสฺส อ่านว่า.................................. ตฺยชฺช อ่านว่า.................................. สลฺลวิทฺโธ อ่านว่า.................................. กีฬึสุ อ่านว่า................................. ปุถุ อ่านว่า................................ ชิญฺชโรทกํ อ่านว่า............................... คลิกไปดูเฉลย

เฉลย อทํ อ่านว่า อะ -ทัง อํสโต อ่านว่า.อัง –สะ-โต อทํ อ่านว่า อะ -ทัง อํสโต อ่านว่า.อัง –สะ-โต พฺยคฺฆสฺส อ่านว่า..พฺยัก-คัด-สะ ตฺยชฺช อ่านว่า ตฺยัด -ชะ สลฺลวิทฺโธ อ่านว่า.สัน-ละ-วิด-โท กีฬึสุ อ่านว่า..กี-ลิง-สุ ปุถุ อ่านว่า..ปุ-ถุง. ชิญฺชโรทกํ อ่านว่า...ชิน-ชะ-โร-ทะ-กัง.... ถูกหรือเปล่า

เท่านี้ก็อ่านภาษาบาลีได้แล้วนะโยม ไปอ่านเรื่อง เวสสันดร กัณฑ์มัทรีกันได้แล้วนะคะ

สวัสดี