โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
Advertisements

การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
กลุ่มปลาดาว.
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
รายชื่อผู้ศึกษาดูงาน
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
การจัดการกระบวนการภายในเพื่อโครงการทดลองจ่ายค่าตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลพาน.
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แนวทางการดำเนินงานในการคืนสิทธิขั้นพื้นฐาน
การดำเนินการปรับปรุงระบบสารสนเทศ - ๑
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
Medication reconciliation
งานบริหารความเสี่ยง Risk management (RM)
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
หลักเกณฑ์การคิดคะแนนประเมินผล
เปิดเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2536 เลขที่ 6 หมู่ 5 ต.วังจันทร์
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
กระบวนการทำงาน งานเวชระเบียนและสถิติ ศูนย์มะเร็งอุดรธานี
การควบคุมค่าใช้จ่ายหน่วยบริการจังหวัดสุโขทัย ปี 2557
จังหวัดนครปฐม.
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ระบบการรายงาน 0110 รง.5 ปี 2550.
การนิเทศติดตาม.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
การจัดส่งรายงานผู้ป่วยประกันสังคม
คู่มือการบันทึกข้อมูล 7 แฟ้ม กลุ่มข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย
Point of care management Blood glucose meter
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 05. ข้อมูลบริการผู้ป่วยใน
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
สรุปประเด็นข้อตรวจพบ
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
หลักธรรมาภิบาลใน WP นพ. ฑิฆัมพร จ่างจิต ผอก. รพ. พาน.
วิเคราะห์สถิติผู้ป่วยนอก ให้รหัสตาม icd10tm
Palliative Care e-Claim.
กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.
การประเมินบุคคลและผลงานเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งนายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรม สาขา )
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด การบริหารจัดการ การส่งข้อมูลผู้ป่วย โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ไพรสณฑ์ จิตตนิยมบุญ

ข้อมูลทั่วไป อำเภออาจสามารถ ข้อมูลทั่วไป รพ.อาจสามารถ ประชากรทั้งหมด 74,587 คน 10 ตำบล 13 สถานีอนามัย 138 หมู่บ้าน ข้อมูลทั่วไป รพ.อาจสามารถ รพช. 30 เตียง ปัจจุบัน นพ.ธารา รัตนอำนวยศิริ เป็นผู้อำนวยการโรงพยาบาล แพทย์ 4 คน ทันตแพทย์ 2 คน เภสัชกร 3 คน พยาบาลวิชาชีพ 30 คน พยาบาลเทคนิค 1 คน

ข้อมูลการให้บริการ (ปีงบประมาณ 2550) ผู้ป่วยนอก 119,287 ครั้ง - มูลค่าบริการ 41,308,091 บาท - เฉลี่ย 326 คน / วัน ผู้ป่วยใน 2,835 คน รวมวันนอน 6,967 วัน - มูลค่าบริการ 10,821,939 บาท - เฉลี่ย 236 คน / เดือน

กระบวนการดำเนินงาน ตั้งคณะกรรมการเวชระเบียน ของ รพ.ซึ่งประกอบด้วย แพทย์ พยาบาล(ทุกกลุ่มงาน) จนท.เวชสถิติ 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ Audit ซึ่งประกอบด้วย แพทย์ 1 คน พยาบาล 1 คน จนท.เวชสถิติ 1 คน 3. จัดประชุมคณะกรรมการ เพื่อชี้แจงขั้นตอนการดำเนินงาน จัดอบรม จนท.ผู้เกี่ยวข้องทั้งหมด เพื่อรับทราบนโยบาย ชี้แจงปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงานและข้อเสนอแนะ 5. ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน

ขั้นตอนการดำเนินงาน แพทย์เวร - เยี่ยมตรวจผู้ป่วย (Rounds)IPD/LR ทุกวัน เช้า/บ่าย - สรุป Summary ผู้ป่วยทันทีที่ D/C

ขั้นตอนการดำเนินงาน จนท.เวร IPD/LR - ลง D/C ให้รหัสโรคและหัตถการ (Pre-Audit) ใน computer ทุกเวร

จนท. IPD/LR (คณะกรรมการเวชระเบียน) ขั้นตอนการดำเนินงาน จนท. IPD/LR (คณะกรรมการเวชระเบียน) รวบรวม Chart ที่ลง D/C แล้วส่งห้องแพทย์ Auditor(ผอก) ทุกวันพุธ และตามความเหมาะสม

ขั้นตอนการดำเนินงาน แพทย์ Auditor ตรวจสอบการสรุป Summary ของแพทย์เวรทุก Chart แก้ไข เพิ่มเติม เพื่อความถูกต้องสมบูรณ์ ซึ่งแพทย์ต้องทำความเข้าใจ ตกลงกัน นำ Chart ส่ง พยาบาล Auditor

ขั้นตอนการดำเนินงาน พยาบาล Auditor ตรวจสอบความสมบูรณ์ของการบันทึกทางการพยาบาลอีกครั้ง ถ้าเห็นว่ายังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ให้นำ Chart กลับไปปรึกษากับ แพทย์ Auditor อีกครั้งเพื่อตรวจสอบยืนยัน

ขั้นตอนการดำเนินงาน จนท.เวชสถิติ ให้รหัสโรคและหัตถการ ตามที่แพทย์ Auditor สรุป เก็บรวบรวมข้อมูล บันทึกลงใน โปรแกรม NHSO,DRG_MX นำส่งข้อมูล ในระยะเวลาที่ สป.สช. กำหนด (ภายใน 30 วัน หลังจาก D/C) รับข้อมูลตอบกลับ ปรับปรุงแก้ไข กรณีข้อมูลไม่ผ่าน (ติดC) และส่งข้อมูลแก้ไข

การจัดทำและส่งข้อมูล หลักเกณฑ์การจัดทำข้อมูล ใช้รหัสวินิจฉัยโรคตาม ICD-10 ของ WHO ปี 2007 ใช้รหัสการทำผ่าตัดและหัตถการตาม ICD-9CM ปี 2007 - รับไว้รักษาใน รพ. น้อยกว่า 4 ชั่วโมง ให้นับเป็นผู้ป่วยนอก ยกเว้น D/C เป็น Dead, Refer, Escape และ Against Advice - ไม่อยู่ใน รพ. เกิน 24 ชั่วโมง ถือเป็นการลากลับบ้าน และต้องหัก Leave Day ในการ Admit ครั้งนั้น

การจัดทำและส่งข้อมูล วิธีการส่งข้อมูล สปสช. หน่วยบริการ เก็บหลักฐานไว้ที่หน่วยบริการ หาก สปสช. ไม่พบหลักฐาน จะถือว่าหน่วยบริการ ไม่ได้ให้บริการ และจะเรียกคืนค่าใช้จ่าย ในส่วนที่ไม่พบหลักฐาน Electronic Claim ผู้ป่วยนอก = DrgMx ผู้ป่วยใน = NHSO

องค์ประกอบแห่งความสำเร็จ คณะทำงานต้องเข้มแข็ง ยอมรับหลักการและเหตุผลซึ่งกันและกัน คณะทำงานต้องมีความรู้ ผ่านการอบรม ICD10,ICD9-cm แพทย์ต้องยอมรับข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะจากทีม Auditor คณะทำงานต้องมีความรู้เกี่ยวกับโรค, การรักษา, ยา, Lab, และหัตถการต่างๆ Auditor ต้องมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี Auditor ต้องทำหน้าที่ควบคุม ติดตาม Feedback ข้อมูล มีความเสียสละ เพราะต้องทำนอกเวลาเป็นส่วนใหญ่

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ “มีคะแนน ผลการส่งข้อมูล ทันรอบการจ่ายชดเชย 99.05%” - เป็นลำดับที่ 1 ของจังหวัด - เป็นลำดับที่ 2 ของระดับเขต