โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด การบริหารจัดการ การส่งข้อมูลผู้ป่วย โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ไพรสณฑ์ จิตตนิยมบุญ
ข้อมูลทั่วไป อำเภออาจสามารถ ข้อมูลทั่วไป รพ.อาจสามารถ ประชากรทั้งหมด 74,587 คน 10 ตำบล 13 สถานีอนามัย 138 หมู่บ้าน ข้อมูลทั่วไป รพ.อาจสามารถ รพช. 30 เตียง ปัจจุบัน นพ.ธารา รัตนอำนวยศิริ เป็นผู้อำนวยการโรงพยาบาล แพทย์ 4 คน ทันตแพทย์ 2 คน เภสัชกร 3 คน พยาบาลวิชาชีพ 30 คน พยาบาลเทคนิค 1 คน
ข้อมูลการให้บริการ (ปีงบประมาณ 2550) ผู้ป่วยนอก 119,287 ครั้ง - มูลค่าบริการ 41,308,091 บาท - เฉลี่ย 326 คน / วัน ผู้ป่วยใน 2,835 คน รวมวันนอน 6,967 วัน - มูลค่าบริการ 10,821,939 บาท - เฉลี่ย 236 คน / เดือน
กระบวนการดำเนินงาน ตั้งคณะกรรมการเวชระเบียน ของ รพ.ซึ่งประกอบด้วย แพทย์ พยาบาล(ทุกกลุ่มงาน) จนท.เวชสถิติ 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ Audit ซึ่งประกอบด้วย แพทย์ 1 คน พยาบาล 1 คน จนท.เวชสถิติ 1 คน 3. จัดประชุมคณะกรรมการ เพื่อชี้แจงขั้นตอนการดำเนินงาน จัดอบรม จนท.ผู้เกี่ยวข้องทั้งหมด เพื่อรับทราบนโยบาย ชี้แจงปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงานและข้อเสนอแนะ 5. ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน แพทย์เวร - เยี่ยมตรวจผู้ป่วย (Rounds)IPD/LR ทุกวัน เช้า/บ่าย - สรุป Summary ผู้ป่วยทันทีที่ D/C
ขั้นตอนการดำเนินงาน จนท.เวร IPD/LR - ลง D/C ให้รหัสโรคและหัตถการ (Pre-Audit) ใน computer ทุกเวร
จนท. IPD/LR (คณะกรรมการเวชระเบียน) ขั้นตอนการดำเนินงาน จนท. IPD/LR (คณะกรรมการเวชระเบียน) รวบรวม Chart ที่ลง D/C แล้วส่งห้องแพทย์ Auditor(ผอก) ทุกวันพุธ และตามความเหมาะสม
ขั้นตอนการดำเนินงาน แพทย์ Auditor ตรวจสอบการสรุป Summary ของแพทย์เวรทุก Chart แก้ไข เพิ่มเติม เพื่อความถูกต้องสมบูรณ์ ซึ่งแพทย์ต้องทำความเข้าใจ ตกลงกัน นำ Chart ส่ง พยาบาล Auditor
ขั้นตอนการดำเนินงาน พยาบาล Auditor ตรวจสอบความสมบูรณ์ของการบันทึกทางการพยาบาลอีกครั้ง ถ้าเห็นว่ายังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ ให้นำ Chart กลับไปปรึกษากับ แพทย์ Auditor อีกครั้งเพื่อตรวจสอบยืนยัน
ขั้นตอนการดำเนินงาน จนท.เวชสถิติ ให้รหัสโรคและหัตถการ ตามที่แพทย์ Auditor สรุป เก็บรวบรวมข้อมูล บันทึกลงใน โปรแกรม NHSO,DRG_MX นำส่งข้อมูล ในระยะเวลาที่ สป.สช. กำหนด (ภายใน 30 วัน หลังจาก D/C) รับข้อมูลตอบกลับ ปรับปรุงแก้ไข กรณีข้อมูลไม่ผ่าน (ติดC) และส่งข้อมูลแก้ไข
การจัดทำและส่งข้อมูล หลักเกณฑ์การจัดทำข้อมูล ใช้รหัสวินิจฉัยโรคตาม ICD-10 ของ WHO ปี 2007 ใช้รหัสการทำผ่าตัดและหัตถการตาม ICD-9CM ปี 2007 - รับไว้รักษาใน รพ. น้อยกว่า 4 ชั่วโมง ให้นับเป็นผู้ป่วยนอก ยกเว้น D/C เป็น Dead, Refer, Escape และ Against Advice - ไม่อยู่ใน รพ. เกิน 24 ชั่วโมง ถือเป็นการลากลับบ้าน และต้องหัก Leave Day ในการ Admit ครั้งนั้น
การจัดทำและส่งข้อมูล วิธีการส่งข้อมูล สปสช. หน่วยบริการ เก็บหลักฐานไว้ที่หน่วยบริการ หาก สปสช. ไม่พบหลักฐาน จะถือว่าหน่วยบริการ ไม่ได้ให้บริการ และจะเรียกคืนค่าใช้จ่าย ในส่วนที่ไม่พบหลักฐาน Electronic Claim ผู้ป่วยนอก = DrgMx ผู้ป่วยใน = NHSO
องค์ประกอบแห่งความสำเร็จ คณะทำงานต้องเข้มแข็ง ยอมรับหลักการและเหตุผลซึ่งกันและกัน คณะทำงานต้องมีความรู้ ผ่านการอบรม ICD10,ICD9-cm แพทย์ต้องยอมรับข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะจากทีม Auditor คณะทำงานต้องมีความรู้เกี่ยวกับโรค, การรักษา, ยา, Lab, และหัตถการต่างๆ Auditor ต้องมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี Auditor ต้องทำหน้าที่ควบคุม ติดตาม Feedback ข้อมูล มีความเสียสละ เพราะต้องทำนอกเวลาเป็นส่วนใหญ่
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ “มีคะแนน ผลการส่งข้อมูล ทันรอบการจ่ายชดเชย 99.05%” - เป็นลำดับที่ 1 ของจังหวัด - เป็นลำดับที่ 2 ของระดับเขต