การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง CONTINUOUS QAULITY IMPROVEMENT CQI ศูนย์พัฒนาคุณภาพ 10 สิหาคม 2554
CQI คือการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และความคิดสร้างสรรค์ ในการปรับปรุงระบบงานเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับรู้ผลงานอย่างไม่หยุดยั้ง โดยมุ่งสู่ความเป็นเลิศ
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง : CQI วัตถุประสงค์ 1. เข้าใจองค์ประกอบสำคัญของการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง 2. รู้จักรูปแบบของการทำกิจกรรมพัฒนาคุณภาพที่เป็นรูปธรรม 3. เข้าใจแนวคิดการเปลี่ยนแปลงที่เป็นการพัฒนาคุณภาพ 4. มีประสบการณ์ในการทำกิจกรรมพัฒนาคุณภาพร่วมกันเป็นทีม
แนวทางการพัฒนาคุณภาพ วางระบบ Policy guide -Peer review Self- assessment Quality round Team dialog QA Supervisor ผู้ป่วย/ญาติ PDCA/CQI/Innovation ปรับปรุงคุณภาพ วัด/Monitor/review ทบทวน/ตรวจสอบ นโยบายและแผน คู่มือปฏิบัติ ประชุม
การหาประเด็นที่จะพัฒนา 1. แผนพัฒนาคุณภาพ/แผนยุทธศาสตร์ของโรงพยาบาบ 2. ความต้องการของผู้รับผลงาน 3. ปัญหาภายในหน่วยงาน 4. จุดอ่อนภายในหน่วยงาน 5. ความเสี่ยงในหน่วยงาน 6. ผลการวิเคราะห์กระบวนการหลัก 7. ผลการประเมินความพึงพอใจ 8. อุบัติการณ์/ข้อร้องเรียน
รูปแบบ CQI ที่เรียบง่ายและเร่งการพัฒนา ตั้งเป้า เน้นการทดสอบขนาดเล็ก ทดสอบต่อเนื่อง ทดสอบหลายเรื่องพร้อมกัน เฝ้าดู ปรับเปลี่ยน
แนวคิดการปรับเปลี่ยน
แนวคิดการปรับเปลี่ยน
แนวคิดการปรับเปลี่ยน
การตั้งเป้าหมายการทำกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ 1. การกำหนดเป็นตัวเลขชัดเจน : ลดระยะเวลารอคอย 5% ใน 1 เดือน 2. อย่าให้เป้าหมายขยับ : เจ้าหน้าที่?/ เครื่องมือ? 3. มีข้อมูลพื้นฐานสนับสนุน : ระยะเวลาก่อนและหลังการปรับปรุง 4. ใช้การเทียบเคียงเป้าหมายกับองค์กร/หน่วยงานอื่น : รพ.......... 5. สอดคล้องกับทิศทางขององค์กร
การประเมินผล
การประเมินผล
การประเมินผล
Any ???? Question ????
ตัวอย่างกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ 1. ค้นหาเรื่อง - การรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการรวดเร็ว 2. กำหนดขอบเขต - ครอบคลุมผู้ที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกและ ผู้ป่วยใน - ไม่ครอบคลุม สิ่งส่งตรวจที่มาจากภายนอก (เช่น PCU/รพสต.) 3. กำหนดสมาชิกทีม - เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการทั้งหมด
ตัวอย่างกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ 4. การค้นหาสาเหตุ - ผังก้างปลา - Problem Tree 5. เครื่องชี้วัด - เครื่องชี้วัดผลลัพธ์ * อัตราการรายงานผลทันเวลา/ล่าช้า - เครื่องชี้วัดกระบวนการ * จำนวนเจ้าหน้าที่ * คุณภาพของเครื่องมือ - เครื่องชี้วัดผลกระทบ * ค่าใช้จ่าย, ระยะเวลารอคอย
ตัวอย่าง
ตัวอย่างกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ 6. หาวิธีการดำเนินการ (ปรับ Problem tree เป็น Objective tree) 7. เลือกประเด็นที่ต้องการปรับเปลี่ยน (1 ประเด็น) - วัตถุประสงค์ ประเด็นย่อย *อัตราการรายงานผลการตรวจทันเวลา/ล่าช้า - เครื่องชี้วัดกระบวนการ *เจ้าหน้าที่เพียงพอ * ทักษะในการตรวจทางห้องปฏิบัติการ * การปฏิบัติตามแนวทางที่กำหนด
ตัวอย่างกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ 7. เลือกประเด็นที่ต้องการปรับเปลี่ยน (1 ประเด็น) * ใคร....เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการทุกคน..... * ทำอะไร....อมรมเรื่องเทคนิคการตรวจต่างๆ... * เมื่อใด.....วันที่ ....เดือน....พศ....... * ที่ไหน ....ห้องปฏิบัติการ............ * เก็บข้อมูลอย่างไร..จำนวนเจ้าหน้าที่ ที่เข้ารับการอบรมและผ่านเกณฑ์ 8. เครื่องชี้วัดผลกระทบ - ค่าใช้จ่าย