กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษา
ความหมายของสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน บ้านดินน่าอยู่
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ ม. 3
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1. วิชาสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม ป.4
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์
สรุปภาพรวมหน่วยการเรียนรู้
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
โครงงานสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณป่าชายเลนบ้านอำเภอ
หน่วยการเรียนรู้ เรื่องสัตว์ในท้องถิ่น
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
สัปดาห์ที่ 3 เรื่อง พฤติกรรมและการเปลี่ยนแปลง
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
เนื้อหาย่อยที่ 1 พืชมีดอก พืชไม่มีดอก
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
หน่วย การเรียนรู้.
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
DNA สำคัญอย่างไร.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ความหลากหลายทางชีวภาพ
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับสัตว์
ความหลากหลายทางพันธุกรรม คุณลักษณะ และ รูปแบบการถ่ายทอด
เอกภพและจักรวาล การกำเนิดระบบสุริยะ.
การปลูกพืชผักสวนครัว
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4-6 ชื่อแผน ออกแบบบ้านในฝันน่าอยู่
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ตารางวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้จัดทำคำอธิบายรายวิชา
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ผลการเรียนรู้ นร.รู้อะไร นร.ทำอะไรได้ สมรรถนะที่เกิดแก่ นร. คุณลักษณะฯ
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
การรายงานกิจกรรมการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ส่วน หนึ่งมาจากนักเรียนมีพื้นฐานความรู้ ที่ แตกต่างกัน มีความสนใจและความสามารถ ในการรับรู้ แตกต่างกัน นักเรียนบางส่วน ขาดความตระหนักไม่เห็นความสำคัญของ.
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของสัตว์ เสนอ ครู ภัทรศยา เย็นเมือง โดย เด็กหญิง อนุสรา เนตรเจริญ เด็กหญิง ดาวเรือง ดับโศรก เด็กชาย อนุวัฒน์ นูแป ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
เห็ดวิทย์ ชิดชาวบ้าน วิเคราะห์ข้อมูลที่จัดทำคำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม รหัสวิชา ว กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา.
วิธีสอนแบบอุปนัย.
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง กระบวนการสืบเสาะแสวงหาความรู้ คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ชื่อผู้วิจัย :: นางสาวสุทธิดา โชติญาณพงษ์
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ครูผู้สอน นางสาวกุลนาถ จินดาเฟื่อง

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต แผนการจัดการเรียนรู้   หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต

มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่าย ทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ลักษณะที่มีการแปรผัน ยีน ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต การจำแนกพืช การจำแนกสัตว์ การอนุรักษ์สัตว์ ด้วยการใช้วิธีการสืบสอบ รูปแบบวงจรการเรียนรู้ 5E เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง นอกจากนี้ยังช่วยให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์เพราะนักเรียนจะเห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่างสิ่งที่เรียนกับชีวิตประจำวัน สาระสำคัญ

ตัวชี้วัด 1. มฐ.ว 1.2 ป.5/1 สำรวจ เปรียบเทียบและระบุลักษณะของตนเองกับคนในครอบครัว 2. มฐ.ว 1.2 ป.5/2 อธิบายการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตในแต่ละรุ่น 3. มฐ.ว 1.2 ป.5/3 จำแนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอก 4. มฐ.ว 1.2 ป.5/4 ระบุลักษณะของพืชดอกที่เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่ โดยใช้ลักษณะภายนอกเป็นเกณฑ์ 5. มฐ.ว 1.2 ป.5/5 จำแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มโดยใช้ลักษณะภายในบางลักษณะและลักษณะ ภายนอกเป็นเกณฑ์

ทักษะ / กระบวนการ / กระบวนการคิดหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มี ชีวิต ถึงความเชื่อมโยงระหว่างสิ่งที่เรียนกับชีวิตประจำวัน ทักษะทั่วไป 1) ทักษะการจัดระบบความคิดเป็นแผนภาพ 2) ทักษะการวาดภาพและระบายสี ทักษะเฉพาะ 1) ทักษะการสังเกต 2) ทักษะการจำแนกประเภท 3) ทักษะการเปรียบเทียบ 4) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 5) ทักษะกระบวนการสืบค้น

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1) มีเหตุผล มีความอยากรู้อยากเห็น ใจกว้าง มีความซื่อสัตย์ มีความมุ่งมั่นในการทำงาน 2) ใฝ่เรียนรู้ ช่างสังเกต ช่างคิด ช่างสงสัย และเป็นผู้ที่มีความกระตือรือร้นในการเสาะแสวงหาความรู้ 3) มีจิตสาธารณะ

การประเมินผล 1. วิธีการวัดและประเมินผล 1.1 สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม 1.2 สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 2. เครื่องมือวัดและประเมินผล 2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม 2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม

3. เกณฑ์การวัดและประเมินผล 3 3. เกณฑ์การวัดและประเมินผล 3.1 การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการ ถือว่า ไม่ผ่าน 3.2 การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม คะแนน 8-10 ระดับ ดีมาก คะแนน 5-7 ระดับ ดี คะแนน 0-5 ระดับ พอใช้

แบบทดสอบหลังเรียน (Post - Test) หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต ให้นักเรียนเขียน  ล้อมรอบตัวอักษรหน้าคำตอบที่ถูกต้อง 1. เราได้รับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากใคร ก. พ่อ แม่ ข. ลุง ป้า ค. น้า อา ง. ครู เพื่อน 2. ข้อความใดกล่าวถูกต้อง 1. ลูกต้องมีลักษณะเหมือนทั้งพ่อและแม่เท่านั้น 2. ลูกไม่จำเป็นต้องมีลักษณะของพ่อและแม่ของตน 3. ลูกอาจเหมือนพ่อคล้ายแม่ หรือคล้ายพ่อแต่เหมือนแม่ ก. ข้อ 1 ข. ข้อ 2 ค. ข้อ 3 ง. ข้อ 2 และ 3

3. ข้อใดที่แสดงถึงการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ก. การมีผมยาวเหมือนแม่ ข. การมีผมตรงเหมือนพ่อ ค. การมีรอยแผลเป็นที่หน้าผากเหมือนปู่ ง. การมีความสามารถด้านการพูดเหมือนยาย 4. ต้นไผ่เป็นพืชที่ขึ้นบนดิน ลักษณะเป็นกอขนาดใหญ่ ใบเรียวยาว เส้นใบขนาน จากลักษณะดังกล่าวจัดเป็นพืชชนิดใด ก. พืชไร้ดอก ข. พืชชั้นต่ำ ค. พืชใบเลี้ยงเดี่ยว ง. พืชใบเลี้ยงคู่ 5. พืชในข้อใดเป็นพืชใบเลี้ยงคู่ทั้งหมด ก. กะเพรา มะขาม มะม่วง ข. ตะไคร้ กล้วย ข้าวโพด ค. อ้อย ถั่วแดง มะละกอ ง. ข้าว ขิง มะพร้าว 6. พืชในข้อใดเป็นพืชไร้ดอกทั้งหมด ก. บัว ผักตบชวา ปรง ข. ปรง เฟิร์น มอส ค. เฟิร์น กก กล้วย ง. ตาล เห็ด ว่านหางจระเข้

7. เมื่อใช้การมีกระดูกสันหลังของสัตว์เป็นเกณฑ์ สัตว์ชนิดใดไม่เข้าพวก ก 7. เมื่อใช้การมีกระดูกสันหลังของสัตว์เป็นเกณฑ์ สัตว์ชนิดใดไม่เข้าพวก ก. กุ้ง ข. หอย ค. ฟองน้ำ ง. ปลาเนื้ออ่อน 8. สัตว์ชนิดหนึ่งเป็นสัตว์เลือดอุ่น มีขนแบบเส้นผมปกคลุมลำตัว หายใจโดยปอด ออกลูกเป็นไข่ มีต่อมน้ำนมใช้ เลี้ยงลูก ว่ายน้ำได้และหากินในน้ำ อยากทราบว่าเป็นสัตว์ชนิดใด ก. วาฬ ข. โลมา ค. พะยูน ง. ตุ่นปากเป็ด 9. สาเหตุสำคัญของการสูญเสียความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตคือข้อใด ก. ความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ข. การสืบพันธุ์ตามธรรมชาติของสัตว์ ค. การกระทำของมนุษย์ ง. ภัยธรรมชาติ

10. ข้อใดไม่ใช่การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต ก. มีลักษณะการแปรผัน ข 10. ข้อใดไม่ใช่การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต ก. มีลักษณะการแปรผัน ข. มีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ค. มีการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ง. มีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม ระบบนิเวศเสียสมดุล