4. ชอบหน้าคนที่ยิ้มแย้ม 5. ไม่ชอบให้ใครมาโต้เถียง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพูด.
Advertisements

“ เทคนิคการนำเสนอโครงงาน ” (ด้วยวาจา)
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การบริการ กองอาคารสถานที่ มอ.
การลดความวิตกกังวล.
วิธีการผ่อนคลายความเครียด
มนุษยสัมพันธ์สร้างสรรค์งาน
บทเรียนโปรแกรม Power Point
เคล็ดลับแห่งความสำเร็จ
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
การติดต่อสื่อสาร สร้างสรรค์ประโยชน์ สร้างความประทับใจที่ดี
“การให้บริการที่มีประสิทธิภาพ”
เสริมทักษะการเป็นวิทยากรฝึกอบรมความปลอดภัย
EQ หลักสูตร การบริหารอารมณ์ สู่การทำงานอย่างมืออาชีพ
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
นิทานธรรมะ ยักษ์....ทำไมปีนต้นไม้...
เทคนิคการนำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ
การสื่อสารเพื่อการบริการ
ก ล เ ม็ ด เกร็ดการนำเสนอ.
ทักษะภาษาไทยที่นักเรียนควรทราบ
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
ฝึกแล้วสื่อความหมายได้ดี ฝึกพูดเป็นการพัฒนามนุษยสัมพันธ์
การรับมือ และ การสร้างความพึงพอใจ ให้แก่ผู้รับบริการ
การทำงานอย่างมีความสุข
เนื้อหาพิเศษ :การชักจูงโน้มน้าว
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
สุขภาพจิต และการปรับตัว
วัฒนธรรมองค์กร & การอยู่ร่วมกัน
อาจารย์สุพรรนี ภู่กำชัย
โดย... อาจารย์อ้อ สุธาสินี
“เทคนิคการเป็นพิธีกรมืออาชีพ” ดร.สมเดช รุ่งศรีสวัสดิ์
บทนำ บทที่ 1.
บุคลิกลักษณะเฉพาะตน (PERSONALITY TRAITS) ที่องค์กรพึงประสงค์
ทักษะการใช้กิริยาท่าทาง และบุคลิกการเป็นครู
โดย พลตรี เอนก แสงสุก ผู้ทรงคุณวุฒิกองบัญชาการกองทัพไทย
เทคนิคการพูดและการนำเสนอ
การบริการ คืออะไร ? คือ การสื่อสารอย่างครบวงจร สื่อจาก ท่าทาง
เคล็ดลับในการฝึกงาน ให้ประสบความสำเร็จ!!!
ภาษาวิทยุกระจายเสียง
แนวทางการก้าวสู่การเป็น
ศิลปะการพูดในที่ชุมชน
การนำเสนอรายงานปากเปล่า (oral presentation)
( Human Relationships )
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
DISC เครื่องมือช่วยบริหารทีม.
..
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน นางพัทธนันท์
ของขวัญ ของขวัญอันล้ำค่า เหล่านี้ ไม่ต้องรอ
ดร. สมเดช รุ่งศรีสวัสดิ์
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
สวัสดีท่านผู้มีเกียรติที่เคารพ
การอ่านเชิงวิเคราะห์
เรื่อง การใช้ท่าทางประกอบการพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
เทคนิคการนำเสนอข้อมูลด้วยวาจา
ทักษะการใช้กิริยาท่าทางและบุคลิกการเป็นครู
การพัฒนาทักษะการคิด การฟัง และการพูด
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
คาถาสำหรับนักพูด.
บุคลิกภาพ และ มนุษยสัมพันธ์ โดย รองศาสตราจารย์ดรุณ หาญตระกูล
1 ทักษะความสามารถพื้นฐานของผู้นำ การพูดเพื่อการสื่อสาร ยุทธนา พรหมณี
เทคนิคการถ่ายทอด พ.อ.ฐิตินันท์ อุตมัง.
พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
การพูด.
การใช้ทักษะในการพูด ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการพูด ผู้พูด สื่อ สาร
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
มนุษยสัมพันธ์ ( Human Relations )
การปฏิบัติตัวของวัยรุ่น
“การพูดแบบไม่เตรียมตัวล่วงหน้า” (Impromptu Speaking)
การนำเสนอสารด้วยวาจา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

4. ชอบหน้าคนที่ยิ้มแย้ม 5. ไม่ชอบให้ใครมาโต้เถียง เรื่อง : คน 1. สนใจตนเอง 2. ชอบให้คนอื่นฟัง 3. สนใจชื่อของตนเอง 4. ชอบหน้าคนที่ยิ้มแย้ม 5. ไม่ชอบให้ใครมาโต้เถียง

6. ชอบเห็นการสารภาพผิด เมื่อทำผิด เรื่อง : คน 6. ชอบเห็นการสารภาพผิด เมื่อทำผิด 7. ชอบที่ได้รับการยกย่อง ไม่ชอบที่ถูกตำหนิ 8. ไม่ชอบคนโอ้อวด ชอบคนถ่อมตัว หรือยืดหยุ่น 9. ชอบคนพูดสุภาพ และชื่นชมคนที่ช่วยเหลือผู้อื่น

Maslow's Hierarchy of Needs ความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ 5 ประการ ความต้องการความสำเร็จ และความสมหวังในชีวิต 5 ความต้องการการมีชื่อเสียงเกียรติยศ และการยกย่อง 4 ความต้องการความรัก ความอบอุ่น และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม 3 ความต้องการความปลอดภัย 2 ความต้องการพื้นฐานทางร่างกาย 1

คุณสมบัติเบื้องต้นของผู้นำ เป็นผู้ที่มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี เป็นผู้ที่มีทักษะในการ ฟัง คิด และการพูด สามารถสื่อสารด้วยคำพูดที่ถูกต้องและชัดเจน มีบุคลิกที่สง่างามในการปรากฎกายต่อที่ชุมชน เป็นผู้นำที่ดี คือมีความสามารถในการพูดโน้มน้าวผู้ร่วมงาน

การสร้างมนุษยสัมพันธ์ เทคนิค“จง” 10 ประการ 1. จงยิ้มแย้มแจ่มใส 2. จงจำชื่อผู้อื่นให้ได้ 3. จงเป็นนักฟังที่ดี 4. จงหมั่นยกย่องชมเชยผู้อื่น 5. จงหลีกเลี่ยงการโต้แย้ง

การสร้างมนุษยสัมพันธ์ เทคนิค“จง” 10 ประการ 6. จงเอาใจเขามาใส่ใจเรา 7. จงช่วยเหลือเกื้อกูลผู้อื่น 8. จงสุภาพอ่อนโยน 9. จงขอบคุณ และขอโทษให้ติดปาก 10. จงมีคุณธรรม และความจริงใจ

2. ทุกคนล้วนแต่มีความสำคัญ 3. ความเที่ยงธรรม / ไม่เห็นแก่ตัว ข้อคิดสู่การเป็นผู้นำ 1. ความจริงใจ 2. ทุกคนล้วนแต่มีความสำคัญ 3. ความเที่ยงธรรม / ไม่เห็นแก่ตัว 4. มีความรับผิดชอบสูง 5. การถ่อมตน หัวใจของการนำ คือ สามารถผลักดันให้ผู้อื่นลงมือทำงาน

6. ความกระตือรือร้น 7. เป็นแบบอย่างที่ดี 8. ฉลาดและเฉียบขาด ข้อคิดสู่การเป็นผู้นำ 6. ความกระตือรือร้น 7. เป็นแบบอย่างที่ดี 8. ฉลาดและเฉียบขาด 9. มีความคิดสร้างสรรค์ หัวใจของการนำ คือ สามารถผลักดันให้ผู้อื่นลงมือทำงาน

ผู้นำที่ได้มาตรฐาน 5 ประการ : เสน่ห์กาย รูปร่างหน้าตา แต่งกายดูดี กิริยาท่าทางงามสง่า กาย : เสน่ห์วาจา การพูดดี น้ำเสียงชัดเจน เด็ดขาด นุ่มนวล สุภาพ วาจา อารมณ์ : ฝึกใจเย็น มีน้ำใจเป็นนักกีฬา รู้อภัย : รักษากฎระเบียบ การประพฤติปฏิบัติดี ติดตามข่าวสารบ้านเมือง สังคม สติปัญญา : หมั่นศึกษาหาความรู้ รู้รอบ

“ถึงบางพูด พูดดี เป็นศรีศักดิ์ มีคนรัก รสถ้อย อร่อยจิต “ถึงบางพูด พูดดี เป็นศรีศักดิ์ มีคนรัก รสถ้อย อร่อยจิต แม้พูดชั่ว ตัวตาย ทำลายมิตร จะชอบผิด ในมนุษย์ เพราะพูดจา” สุนทรภู่

เป็นมนุษย์ สุดนิยม ที่ลมปาก จะได้ยาก โหยหิว เพราะชิวหา แม้นพูดดี มีคน เขาเมตตา จะพูดจา จงพิเคราะห์ ให้เหมาะความ

การพูดจา บอกถึง ซึ่งดวงจิต บอกความคิด ตื้นลึก การศึกษา บอกนิสัย ใจคอ ส่อเจตนา ก่อนพูดจา ออกไป จงใคร่ครวญ

อ่าน 16 % เขียน 9 % พูด 30 % ฟัง 45 %

พูด : ฟังแล้วเสีย 4 อย่าง 1 เสียความรู้สึก 2 เสียหน้า 3 เสียหาย 4 เสียใจ

1 ต้องพูดเรื่องจริง และจริงใจ 2 ต้องพูดเรื่องที่มีประโยชน์ ได้ความรู้ การพูดดี 1 ต้องพูดเรื่องจริง และจริงใจ 2 ต้องพูดเรื่องที่มีประโยชน์ ได้ความรู้ 3 ต้องเป็นที่พอใจของผู้ฟัง  มีคำนำ เนื้อเรื่อง สรุป  ตัวอย่างประกอบ  แทรกอารมณ์ขัน

บัญญัติ 10 ประการ ของนักพูด เตรียมพร้อมที่จะพูด สูดลมหายใจ ทักให้ถูกต้อง ตามองผู้ฟัง เสียงดังฟังชัด

บัญญัติ 10 ประการ ของนักพูด 6. ติดขัดยิ้มไว้ 7. มือไม้อย่าวุ่น 8. ขอบคุณพึงงด 9. อย่าจดทุกคำ 10. จำ (คำขึ้นต้น) จำ (คำลงท้าย)

การพูดที่ไม่ประสบความสำเร็จ 1 เตรียมตัวไม่เหมาะสม 2 ท่าทางประหม่า (ล้วง แคะ แกะ เกา) 3 ไม่หาตัวอย่างประกอบ 4 ความรู้ไม่พอ ไม่มั่นใจ 5 ถ่อมตัวหรืออวดตัวมากไป 6 พูดให้ผู้ฟังสิ้นหวัง หรือได้อาย 7 ใช้ภาษาไม่ถูกต้อง 8 ไม่มีลูกเล่น 9 ไม่เป็นไปตามเวลาที่กำหนด

เคล็ดลับการพูดให้พบความสำเร็จ 1 . พูดชัดเจน ไม่ดัง/ค่อยเกินไป มีหางเสียง มีจังหวะจะโคน รู้จักเว้นวรรค รู้จักเล่นเสียงบ้าง 2 . พูดแบบมีความรู้จริง มีข้อมูลจริง 3 . รู้จักหยุดพูด ฟังคนอื่นพูดบ้างอย่างใส่ใจ ไม่ขัดคอ 4 . ขณะพูดต้องมองผู้ฟัง ยิ้มแย้ม ท่าทีจริงจังเมื่อพูดเรื่องสำคัญ 5 . ไม่ประหม่า พูดมีสาระ แทรกอารมณ์ขัน ไม่ควรทะลึ่งตึงตัง

การพูดที่ประสบความสำเร็จ 1 ลักษณะการพูดที่ดี 2 มีรูปแบบของการพูดที่ดี 3 มีขั้นตอนการพูดที่ดี ไม่พูดเร็วหรือช้าเกินไป ไม่พูดวกวนสับสน มีจังหวะการพูดที่เหมาะสม มีน้ำเสียงการพูดที่ชวนฟัง มีเป้าหมายการพูดที่ชัดเจน เหมาะสมกับเวลา เกิดความน่าเชื่อถือ สามารถโน้มน้าวผู้ฟัง /ปลุกใจ มีอารมณ์ขัน การทักในที่ประชุม มีโครงสร้าง คำนำ เนื้อเรื่อง สรุป ปรับปรุงความรู้อยู่เสมอ เอ่ยชื่อผู้ฟังบ้างเมื่อมีโอกาส พูดอย่างนักจิตวิทยา (ใช้คำว่า “เรา” แทนคำว่า “ผม”)

หลักการพูดในที่ชุมชน การพูด : กระบวนการสื่อสารความคิด จากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่ง หรือกลุ่มหนึ่ง โดยมีภาษา น้ำเสียง และอากัปกิริยาเป็นสื่อ

Introduction and Conclusion ศิลปะการแสดงออก 20 % Art of Performance คำนำและการสรุปจบ 20 % Introduction and Conclusion บุคลิกภาพทั่วไป 10 % Personality เนื้อหาสาระ 50 % Content or Materials

การประหม่า สั่น ใจเต้นแรง  ทำอะไรโดยไม่รู้ตัว

ความเชื่อมั่นในตัวเอง เตรียมเรื่องให้พร้อม ฝึกซ้อมให้ดี ไม่หวั่นวิตก ดื่มน้ำก่อนขึ้นเวที สูดหายใจลึก ๆ 3 – 5 ครั้ง เมื่อขึ้นเวที อย่ารีบพูด หยุดนิ่งสักอึดใจ มองดูผู้ฟัง แล้วเริ่มพูด

“รู้เขารู้เรา พูดกี่ครั้งก็ประทับใจทุกครั้ง” เตรียมตัวให้พร้อม “รู้เขารู้เรา พูดกี่ครั้งก็ประทับใจทุกครั้ง” ข้อแนะนำ ทราบวัตถุประสงค์การพูด พูดในเรื่องที่เรามีความถนัดหรือมีความรู้ รู้ว่าเรื่องใดควรพูด และเรื่องใดไม่ควรพูด ควรไปถึงสถานที่ที่จะพูดก่อนเวลา เพื่อทำความคุ้นเคยกับสถานที่ มีโครงเรื่องการพูดประกอบด้วย  คำนำ / ทบทวน 10 %  เนื้อหา 75 - 80 %  สรุป 10 - 15 %

2. ฝึกซ้อมให้ดี : (กรณีนักพูดหน้าใหม่) “ก่อนขึ้นเวทีหรือก่อนการพูดควรลองซ้อมพูดดูก่อน” ข้อแนะนำ  ลองอ่านออกเสียงหรือลองพูดคนเดียว  ลองซ้อมพูดหน้ากระจก ซ้อมท่าทาง  จับเวลา ต้องตรงเวลา  แก้ไขปรับปรุง

“บุคลิกภาพเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดสำหรับการพูดในชุมชน” 3. ท่าทีงามสง่า “บุคลิกภาพเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดสำหรับการพูดในชุมชน” ข้อแนะนำ  ทรงผมและใบหน้า ดูเรียบร้อยไม่แต่งหน้ามากเกินไป  เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายถูกต้องเหมาะสม ดูดี ไม่ด้อยกว่าผู้ฟัง  เครื่องประดับ อย่าให้มากหรือสะดุดตาเกินไป  การปรากฎกาย ยิ้มแย้ม เดินด้วยความมั่นใจ สง่าผ่าเผย ไม่รีบร้อนหรือเชื่องช้า  การยืนหรือนั่ง ยืนตัวตรงอย่างมั่นคง สุภาพสตรีถ้านั่งพูดต้องระมัดระวัง  การใช้ไมโครโฟน ปรับระดับไมโครโฟนให้ตรงกับระดับปาก อย่าทดสอบโดยการเคาะ  การใช้มือประกอบท่าทาง

2 ยิ้มแย้มแจ่มใส มีชีวิตชีวา 3 พูดปากเปล่า มิให้เหมือนท่องหรืออ่าน มาดของพิธีกร 1 ยืนในท่าสง่างาม 2 ยิ้มแย้มแจ่มใส มีชีวิตชีวา 3 พูดปากเปล่า มิให้เหมือนท่องหรืออ่าน 4 ขณะเอ่ยชื่อ  เว้นระยะ หยุดนิดหนึ่ง ก่อนเอ่ยชื่อผู้พูดในตอนสุดท้าย  แยกส่วน เอ่ยชื่อ – นามสกุล แยกส่วนให้ชัดเจน  หนักแน่น น้ำเสียงชัดเจน และมีพลัง

บุคลิกที่สง่างาม กาย สะอาด แต่งกายดูดี ออกกำลังกาย รักษาสุขภาพ กาย สะอาด แต่งกายดูดี ออกกำลังกาย รักษาสุขภาพ กินง่าย อยู่ง่าย วาจา พูดดี สุภาพ ไม่บ่น ไม่จู้จี้ ใจ ใจเย็น ไม่เครียด มองโลกในแง่ดี อยากทำดี สติปัญญา หาความรู้อยู่เสมอ คิดดี อ่าน ฟัง ดู ทราบข่าวสารบ้านเมือง ท่องเที่ยว พูดคุยพบปะคนทั่วไป

บุคลิกภาพ : การปรากฎกายที่แท่นพูด 1 อย่าขึ้นพูดขณะรู้สึกเหนื่อยหรืออิดโรย 2 อย่ารับประทานอาหารเสียจนพุงกางก่อนพูด 3 จงให้ความกระตือรือร้น มีชีวิตชีวา 4 จงแต่งกายให้เรียบร้อยและเป็นที่สะดุดตา 5 จงยิ้มให้ผู้ฟังเพื่อสร้างบรรยากาศแห่งความเป็นมิตร

บุคลิกภาพ : การปรากฎกายที่แท่นพูด 6 จงให้ผู้ฟังนั่งรวมกันเป็นกลุ่ม 7 จุดที่ผู้พูดอยู่นั้นจะต้องสว่างเป็นพิเศษเห็นชัด 8 เลือกใช้ห้องประชุมให้เหมาะสมกับจำนวนผู้ฟัง 9 การพูดเป็นแบบกันเองและเป็นแบบสนทนามากที่สุด 10 จงอย่าให้มีเครื่องตบแต่งอันใดที่รกรุงรังบนเวที

“อาการประหม่า คือ หัวใจสั่น ตื่นเต้น แสดงออกโดยไม่รู้สึกตัว” 4. กิริยาต้องสุขุม “อาการประหม่า คือ หัวใจสั่น ตื่นเต้น แสดงออกโดยไม่รู้สึกตัว” ข้อแนะนำ  แสดงกิริยาสุภาพ เรียบร้อย ดูนุ่มนวล  ไม่ตกใจ ไม่หลุกหลิก ต้องมั่นใจ  ควบคุมอาการประหม่าโดย  สูดลมหายใจลึก ๆ หรือกำมือให้แน่น  ต้องเตรียมตัวให้มาก และพร้อมที่สุด  ขึ้นเวทีอย่ารีบพูด หยุดนิ่งสักอึดใจ มองให้ทั่วแล้วค่อยพูด พูดเสียงดัง ให้หนักแน่น

5. ทักที่ประชุมอย่าวกวน “โดยธรรมเนียมก่อนพูดจะเริ่มพูดสิ่งใด ผู้พูดควรกล่าวทักผู้ฟังในที่ประชุมก่อน” ข้อแนะนำ  ลำดับแรกสุดให้ทักพระภิกษุก่อน (ถ้ามี) เช่น “นมัสการ” ไม่ควรขึ้นต้นว่า “เจริญพร”  ทักพิธีกร ต่อจากนั้นค่อยทักผู้อาวุโสสูงสุดก่อนแล้วค่อยทักคนที่รองลงไป  ทักใครควรมองผู้นั้น  ไม่ควรทักเกิน 4 คน  ถ้าเป็นพิธีกร ควรทักเพียง “ท่านผู้มีเกียรติที่เคารพ”

“คำนำ : ดึงดูดความสนใจ ชวนให้ติดตาม” 6. เริ่มต้นให้โน้มน้าว “คำนำ : ดึงดูดความสนใจ ชวนให้ติดตาม” ข้อแนะนำ  ไม่ควรกล่าวเยิ่นเย้อเกินไป  ไม่ควรเริ่มต้นด้วยการออกตัว ขอโทษ หรือถ่อมตัว  ควรกล่าว แสดงความยินดีที่ได้มาพูด  บอกชื่อเรื่องและหัวข้อใหญ่ ๆ ที่จะพูด  กล่าวถึงจุดสำคัญของเรื่อง  กล่าวถึงประโยชน์ของเรื่อง

“เนื้อหาเป็นเรื่องสำคัญ เป็นหัวใจของเรื่อง” 7. เรื่องราวให้กระชับ “เนื้อหาเป็นเรื่องสำคัญ เป็นหัวใจของเรื่อง” ข้อแนะนำ  โครงเรื่องประกอบด้วย คำนำ เนื้อหา สรุป  พูดเป็นลำดับตามเนื้อหา ให้เป็นขั้นตอน  แบ่งเนื้อหาควรมีประเด็น 3 – 5 หัวข้อใหญ่  หัวข้อย่อยขยายความหัวข้อใหญ่ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น  มีตัวอย่างประกอบ และเนื้อหาสาระเหมาะกับเวลา  ก่อนจบให้ซักถามและกล่าวสรุป

“เวลาเราพูดมองตาผู้ฟัง เวลาเราฟังมองตาผู้พูด” 8. ตาจับที่ผู้ฟัง “เวลาเราพูดมองตาผู้ฟัง เวลาเราฟังมองตาผู้พูด” ข้อแนะนำ ไม่ควรจ้องมองใครคนเดียวนาน ๆ ควรสบตาผู้ฟังสม่ำเสมอและทั่วถึง ข้อบกพร่องการใช้สายตา  ไม่กล้าสบตา  ตามองสิ่งใดสิ่งหนึ่งตลอดเวลา  หลบสายตา เมื่อมองตอบสนอง  ก้มหน้าอ่านต้นฉบับนานเกินไป  มองเหม่อ ระดับสูง / ต่ำ เกินไป อยู่เสมอ  จ้องสายตา “กล้าแข็ง”มากเกินไป

“เสียงสามารถสะกดผู้ฟังให้สนใจการฟังได้อย่างดี” 9. เสียงดังฟังชัด “เสียงสามารถสะกดผู้ฟังให้สนใจการฟังได้อย่างดี” ข้อแนะนำ  เสียงดังพอดี  มีท่วงทำนอง  ถูกต้องชัดเจน  นิ่มนวล สุภาพ  เสียงแท้ที่เสนาะหู  หยุดเว้นจังหวะเหมาะสม

2 ปรับระดับเสียงสูงต่ำให้สอดคล้องกับเนื้อเรื่องและต่อเนื่องไม่ขาดสาย เคล็ดลับการใช้เสียง 1 เน้นคำที่สำคัญๆ 2 ปรับระดับเสียงสูงต่ำให้สอดคล้องกับเนื้อเรื่องและต่อเนื่องไม่ขาดสาย 3 การเปลี่ยนอัตราเร็ว – ช้า ที่เหมาะสม 4 การหยุดพักสักเล็กน้อยก่อนและหลังการพูดประโยคสำคัญๆ

“ของขวัญที่ล้ำค่า ไม่ต้องซื้อต้องหา ผู้รับประทับใจ คือ ให้รอยยิ้ม” 10. ติดขัดยิ้มไว้ “ของขวัญที่ล้ำค่า ไม่ต้องซื้อต้องหา ผู้รับประทับใจ คือ ให้รอยยิ้ม” ข้อแนะนำ  ยิ้มแย้มแสดงถึงความเป็นมิตร  รอยยิ้มที่ใบหน้าจะช่วยคลี่คลายบรรยากาศเป็นอย่างดี  ใบหน้าที่แสดงความยินดี สุขุม ราบเรียบ และจริงใจ เหมาะกับการพูดทุกโอกาส

อันรอยยิ้มใช่ว่าราคามาก เพียงแย้มปากฝากรอยยิ้มพิมพ์ใจหลาย ประทับจิตผู้รับจนดับวาย ค่ามากมายเกินกว่าราคาเงิน

“ภาษาเป็นอาภรณ์ประดับกาย เป็นเสน่ห์ประดับตน” 11. อย่ามีเอ้ออ้า “ภาษาเป็นอาภรณ์ประดับกาย เป็นเสน่ห์ประดับตน” ข้อแนะนำ อย่ามีเอ้ออ้า นะคะ / นะครับ คำที่ไม่มีความหมาย ระมัดระวังคำควบกล้ำ เสียง “ร” หรือ “ล” ใช้ภาษาให้เหมาะสมกับผู้ฟัง อย่าพูดเต็มไปด้วยตัวย่อ ขจัดคำพูดที่ไม่น่าฟัง พูดให้สุภาพ ไพเราะ ให้เกียรติผู้ฟัง อย่าพูดโม้โอ้อวด พูดยกตนข่มท่าน

“การตรงต่อเวลา ก่อให้เกิดศรัทธาและเชื่อถือ” 12. ดูเวลาให้พอครบ “การตรงต่อเวลา ก่อให้เกิดศรัทธาและเชื่อถือ” ข้อแนะนำ  ต้องเริ่มและเลิกพูดตามเวลาที่กำหนด  ควรไปถึงสถานที่จะพูดก่อนเวลา  เพื่อทำความคุ้นเคยกับสถานที่ ตลอดจน ผู้ฟัง  ได้ตรวจความพร้อมของอุปกรณ์ที่จะต้องใช้  ผู้จัดรายการสบายใจ ไม่วิตกกังวลว่า จะไม่มาพูด

“คำคมที่ทิ้งท้ายก่อให้เกิดความประทับใจและจดจำ” 13. สรุปจบให้จับใจ “คำคมที่ทิ้งท้ายก่อให้เกิดความประทับใจและจดจำ” ข้อแนะนำ  ย้ำจุดสำคัญ  ทบทวนให้ปฏิบัติตาม  แบบฝากไปให้คิด  จบด้วยสุภาษิต คำคม ที่ประทับใจ น่าจดจำ  พึงหลีกเลี่ยง  ขอจบหรือขอยุติ  ไม่มากก็น้อย  ขอโทษหรือขออภัย  ขอขอบคุณ

14. เมื่อสิ้นสุดการพูด : ลงไปให้มีมาด “ทุกคนมีแบบ (มาด) เฉพาะของตนเอง ท่านต้องเป็นตัวของท่านเอง” ข้อแนะนำ ไม่ควรรีบร้อนหรือชักช้าเกินไปเมื่อลงจากเวที หรือแท่นพูด ทยอยเก็บเอกสารหรืออุปกรณ์ประกอบการพูด ให้หมด เมื่อพูดจบ เดินถอยออกจากไมโครโฟนเล็กน้อย แล้วโค้งให้ผู้ฟัง มองผู้ฟังแล้วเดินลงเวทีอย่างสุขุม และมาดมั่น

“ปากเป็นเอก เลขเป็นโท หนังสือเป็นตรี” 15. หัวใจนักพูด “ปากเป็นเอก เลขเป็นโท หนังสือเป็นตรี” 1 ต้องเตรียมตัวให้พร้อม 2 ฝึกซ้อมให้ดี 3 ท่าทีงามสง่า 4 กิริยาต้องสุขุม 5 ทักที่ประชุมอย่าวกวน 6 เริ่มต้นให้โน้มน้าว 7 เรื่องราวให้กระชับ 8 ตาจับที่ผู้ฟัง 9 เสียงดังฟังชัด 10 ติดขัดยิ้มไว้ 11 อย่ามีเอ้ออ้า 12 ดูเวลาให้พอครบ 13 สรุปจบให้จับใจ 14 ลงไปให้มีมาด

การสร้างความประทับใจแก่ผู้ฟัง ๑ พูดในเรื่องที่ผู้ฟังสนใจ ตั้งชื่อให้เร้าใจ ๒ พูดให้มีลักษณะเป็นกันเอง ๓ เริ่มเรื่องอย่าออกตัว แก้ตัว เพื่อเรียกร้องความเห็นใจ ๔ ต้องมีความรู้ในเรื่องที่พูด มีศิลปะในการแสดงออก ๕ พูดตรงไปตรงมา ด้วยความจริงใจ

การสร้างความประทับใจแก่ผู้ฟัง ๖ อย่าแสดงอารมณ์ขุ่นมัว โกธร ไม่พอใจ ๗ ให้เกียรติ ยกย่อง ชมเชย ในส่วนที่เป็นความดีของผู้ฟัง ๘ จงแสดงออกซึ่งสุภาพ มีมารยาท นอบน้อมถ่อมตน การแต่งกายที่เหมาะสม ๙ แสดงความมีชีวิตจิตใจ ยินดี ภูมิใจ ที่ได้รับเกียรติมีโอกาสมาพูด ๑๐ พยายามใช้ภาษาไทย

ศิลปะการพูดให้ผู้ฟังชื่นชอบ 12 ประการ 1 จงบอกถึงความภาคภูมิใจที่ได้กล่าวคำปราศัย 2 ไม่กล่าวคำแก้ตัว 3 จงพูดในสิ่งที่ผู้ฟังสนใจ 4 จงยกย่องผู้ฟังอย่างจริงใจ 5 พูดด้วยความนบนอบถ่อมตน 6 พูดด้วยความซื่อจริงใจไม่เห็นแก่ตัว

ศิลปะการพูดให้ผู้ฟังชื่นชอบ 12 ประการ 7 พูดด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลิน 8 น้อมรับคำวิจารณ์ ไม่แสดงความไม่พอใจ 9 ให้คำพูดว่า “พวกเรา” แทนคำว่า “พวกคุณ” 10 เอ่ยชื่อผู้ฟังบางท่านในที่นั้น ทันทีที่มีโอกาส 11 ไม่แสดงสีหน้าดุดัน และไม่พูดด้วยความแข็งกร้าว 12 จงเร้าอารมณ์ที่แสดงออกถึงคุณธรรมเพื่อให้ผู้ฟังซาบซึ้ง

การทำงานทุกชนิดให้สำเร็จและเป็นสุข ถ้าจะคิด คิดให้ดี คิดให้แตกต่างจากผู้อื่น ถ้าจะทำ ทำให้ดีที่สุด สุดฝีมือ ถ้าจะพูด พูดให้ดี มีประโยชน์ จะประสบความสำเร็จ ด้วยสิ่งที่เราถนัด เราชอบและมีความรู้

รู้เจรจา รู้พาที นี้เป็นเลิศ ฝึกไว้เถิด ใช้ประจำ นำวิถี รู้เจรจา รู้พาที นี้เป็นเลิศ ฝึกไว้เถิด ใช้ประจำ นำวิถี จะกอบกิจ งานใดใด มักได้ดี งามวจี ผู้สดับ ประทับใจ ศรีเพ็ญ หาญตระกูล