การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
Advertisements

การออกคำสั่งทางปกครอง
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สารบัญญัติ ของพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
วิธีการหาองค์ประกอบขยะมูลฝอย
แผนงานย่อย “น้ำมันทอดซ้ำเสื่อมสภาพ”
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
PB389 Integrated Solid Waste Management
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การตรวจสอบผลิตภัณฑ์อาหาร ณ ด่านอาหารและยา
สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/2559 จังหวัดสุพรรณบุรี คณะที่ 4.2 แผนงานคุ้มครองผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม คณะที่ 5 แผนขยะและสิ่งแวดล้อม.
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
สารบัญญัติ ของพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535
สารบัญญัติ ของพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
กลุ่มเกษตรกร.
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการน้ำดื่ม คณะแพทยศาสตร์
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
กฎหมายสาธารณสุข น.ส.นิธิวดี ศรีกัณหา นิติกร ศูนย์อนามัยที่ 6.
โครงการพัฒนาผู้สอบบัญชีภาครัฐเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต CAD - CPA
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรถจักรยานยนต์พ่วงข้าง(ซาเล้ง)ฯ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย หมวด ๓ การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย พรพรรณ ไม้สุพร รองผอ.ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

สารบัญญัติตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 หมวด 3 การจัดการสิ่งปฏิกูลมูลฝอย หมวด 4 สุขลักษณะของอาคาร หมวด 5 เหตุรำคาญ หมวด 6 การควบคุมการเลี้ยง / ปล่อยสัตว์ หมวด 7 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ หมวด 8 ตลาด สถานที่จำหน่าย / สะสมอาหาร หมวด 9 การจำหน่ายสินค้าในที่ / ทางสาธารณะ

“สิ่งปฏิกูล” หมายความว่า อุจจาระหรือปัสสาวะ และหมายความรวมถึงสิ่งอื่นใดซึ่งเป็นสิ่งโสโครกหรือมีกลิ่นเหม็น (ม. ๔) “มูลฝอย” หมายความว่า เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า เศษวัตถุ ถุงพลาสติก ภาชนะที่ใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์ ซากสัตว์ หรือสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์ หรือที่อื่นๆ และหมายความรวมถึงมูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน (ม. ๔)

ราชการส่วนท้องถิ่นตาม ขอบเขตการจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย ของราชการส่วนท้องถิ่นกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม สิ่งปฏิกูล มูลฝอย ขยะทั่วไป ขยะอันตราย สิ่งโสโครก ที่มีกลิ่นเหม็น อุจจาระ ปัสสาวะ ขยะติดเชื้อ ขยะอันตราย จากครัวเรือน ของเสียจากการประกอบ กิจการโรงงาน (ป.2548) อยู่ในความควบคุมของ ราชการส่วนท้องถิ่นตาม พรบ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 อยู่ในความควบคุมของ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ตาม พรบ.โรงงาน พ.ศ. 2535

การจัดการของ อปท. ทั้งของเสียอันตราย/ไม่อันตราย เขตราชการส่วนท้องถิ่น แจ้งให้ทราบ (เพื่อประโยชน์ในการ Double check) ครัว เรือน กิจการ/สำนักงาน สถาน พยาบาล โรงงาน มูลฝอยทั่วไป มูลฝอยอันตราย มูลฝอยติดเชื้อ ของเสียไม่อันตราย ของเสียอันตราย อปท.ดำเนินการได้ ๓ ลักษณะ ดำเนินการเอง (ฝังกลบ/เตาเผา) ร่วมกันระหว่าง อปท.หรือ รพ.ของ กสธ. อนุญาตเอกชนรับเก็บ ขน กำจัด อปท.ยังไม่มีศักยภาพดำเนินการ ยังต้องใช้บริการของบริษัท GENCO / โรงงาน 101, 105 ,106 ที่กรมโรงงานฯ อนุญาต ผู้ประกอบการเอกชน

บทบาทอำนาจหน้าที่การจัดการมูลฝอยของท้องถิ่น ราชการส่วนท้องถิ่น / เจ้าพนักงานท้องถิ่น (ม. 18-19) (ม. 20) บริหารจัดการเรื่องมูลฝอย ตราข้อกำหนดของท้องถิ่น ห้ามทิ้งในที่/ ทางสาธารณะ กำหนดให้มีที่รองรับ กำหนดวิธีการ เก็บ ขน กำจัด กำหนดอัตราค่าธรรมเนียม กำหนดหลักเกณฑ์และอัตรา ค่าบริการขั้นสูงของผู้ได้รับ อนุญาต ดำเนิน การเอง มอบให้ ผู้อื่น ดำเนินการ อนุญาตให้เอกชนดำเนินการเป็นธุรกิจ

ราชการส่วนท้องถิ่น ในกรณีที่มีเหตุอันควร ภาระหน้าที่หลัก 1. ดำเนินการเก็บ/ขน/กำจัดเอง โดยเก็บค่าบริการ ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น (ม.20) ห้ามถ่ายเททิ้ง อัตราค่าธรรมเนียม (ไม่เกินกฎกระทรวง) ในกรณีที่มีเหตุอันควร จัดให้มีที่รองรับ สิ่งปฏิกูล/มูลฝอย 2. อาจมอบให้บุคคลใดดำเนินการแทนภายใต้การควบคุมดูแล วิธีการเก็บ ขน และกำจัดของเจ้าของ/ ผู้ครอบครองอาคารหรือสถานที่ใดๆ แต่ต้อง ปฏิบัติตาม 3. อาจอนุญาตให้บุคคล ที่ได้รับอนุญาตตามมาตรา 19 ดำเนินการแทน หลักเกณฑ์วิธีการ เงื่อนไข ให้ผู้ได้รับอนุญาตปฏิบัติ เรื่องอื่นใดที่จำเป็น

กฎกระทรวงว่าด้วยการกำจัด มูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545 มูลฝอยที่มีเชื้อโรคปะปน ในปริมาณ หรือมีความเข้มข้น ซึ่งถ้ามีการสัมผัส หรือใกล้ชิดกับมูลฝอยนั้นแล้ว สามารถทำให้เกิดโรคได้ มูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยซึ่งเกิดขึ้นหรือใช้ในการ ตรวจ/ รักษา/ ทดลอง/ วิจัย ทางการแพทย์ อันได้แก่ ... ซาก/ ชิ้นส่วนของมนุษย์ / สัตว์ วัสดุของมีคม /วัสดุ ซึ่งสัมผัสเลือด สารน้ำจากร่างกาย วัคซีน เช่น เข็ม มีด หลอด ผ้าก๊อส สำลี เป็นต้น มูลฝอยทุกชนิดจากห้องรักษาผู้ป่วยติดเชื้อร้ายแรง

สถานบริการ การสาธารณสุข ห้องปฏิบัติการ เชื้ออันตราย ผลการใช้บังคับ กทม. เทศบาลตำบล 6 ต.ค. 45 เมืองพัทยา อบจ. 6 ต.ค. 46 เทศบาลนคร อบต. เทศบาลเมือง ประกาศยกเว้น การเก็บ การขน การกำจัด สถานบริการ การสาธารณสุข ห้องปฏิบัติการ เชื้ออันตราย

กฎกระทรวงตามมาตรา 6 แห่ง พ.ร.บ.การสาธารณสุข รมต.สธ. กฎกระทรวง ออก 1. กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ควบคุม กำกับดูแล 2 กำหนดมาตรฐานความเป็นอยู่ ที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิต และวิธีดำเนินการเพื่อตรวจสอบ แนะนำ กรรมการ สธ. ติดตาม / สนับสนุน ราชการส่วนท้องถิ่น/ เจ้าพนักงานท้องถิ่น เขตราชการส่วนท้องถิ่นที่กฎกระทรวงมีผลใช้บังคับ ควบคุมกำกับกิจการให้ปฏิบัติตามกฎกระทรวง

คำนิยาม มูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่มีเชื้อโรคปะปน ในปริมาณ หรือมีความเข้มข้น ซึ่งถ้ามีการสัมผัส หรือใกล้ชิดกับมูลฝอยนั้นแล้ว สามารถทำให้เกิดโรคได้ มูลฝอยซึ่งเกิดขึ้นหรือใช้ในการ ตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์ การรักษาพยาบาล การให้ภูมิคุ้มกัน การทดลองเกี่ยวกับโรค การวิจัย การชันสูตรศพ ซากสัตว์ อันได้แก่ ... ซาก/ ชิ้นส่วนของมนุษย์ / สัตว์ วัสดุของมีคม /วัสดุซึ่งสัมผัสเลือด สารน้ำจากร่างกาย วัคซีน เช่น เข็ม มีด หลอด ผ้าก๊อส สำลี เป็นต้น มูลฝอยทุกชนิดจากห้องรักษาผู้ป่วยติดเชื้อร้ายแรง

สถานบริการการสาธารณสุข สถานพยาบาล และสถานพยาบาลสัตว์ ทั้งที่เป็นของรัฐ และของเอกชน ห้องปฏิบัติการเชื้ออันตราย ห้องปฏิบัติการเชื้ออันตราย ที่มิได้ตั้งอยู่ภายในสถานบริการการสาธารณสุข ได้แก่ ห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์สารเคมีและจุลินทรีย์ในวัตถุตัวอย่างจากร่างกายมนุษย์หรือสัตว์ที่อาจก่อให้เกิดเชื้ออันตราย และห้องปฏิบัติการทดสอบด้านสาธารณสุข ที่ทำการตรวจวิเคราะห์ คุณภาพ ส่วนประกอบ และความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่อาจก่อให้เกิดเชื้ออันตราย

สถานบริการ การสาธารณสุข ห้องปฏิบัติการ เชื้ออันตราย ผลการใช้บังคับ กทม. เทศบาลตำบล 6 ต.ค. 45 เมืองพัทยา อบจ. 6 ต.ค. 46 เทศบาลนคร อบต. เทศบาลเมือง ได้ประกาศยกเว้น การเก็บ การขน การกำจัด สถานบริการ การสาธารณสุข ห้องปฏิบัติการ เชื้ออันตราย

กลุ่มเป้าหมายที่อยู่ภายใต้บังคับตามกฎกระทรวง ราชการส่วนท้องถิ่น ผู้ได้รับมอบจากราชการส่วนท้องถิ่น สถานบริการการสาธารณสุข ประชาชน ผู้ก่อให้เกิด มูลฝอยติดเชื้อ (ข้อ 4) ผู้ได้รับใบอนุญาตให้ รับทำการเก็บ ขน กำจัดโดยทำเป็นธุรกิจ ห้องปฏิบัติการ เชื้ออันตราย

เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ผู้ได้รับมอบจากราชการส่วนท้องถิ่น สถานบริการการสาธารณสุข สถานพยาบาล/ สัตว์ของราชการ ราชการ ส่วนท้องถิ่น ผู้ได้รับใบอนุญาต ห้องปฏิบัติการฯ ราชการส่วนท้องถิ่นหลายแห่ง เก็บ /ขน การกำจัด เก็บ ขน กำจัด 1 คน (วท.) 2 คน (วท.+วศ.) 1 คน (วท./ วศ.) 2 คน (วท.+วศ.)

การควบคุมดูแลการเก็บ ขน และกำจัด มูลฝอยติดเชื้อของราชการส่วนท้องถิ่น จัดให้มีสถานที่ทิ้งในที่สาธารณะ และกำหนดวิธีการกำจัดในท้องถิ่น จัดให้มีผู้รับผิดชอบอย่างน้อย 1 คน (วุฒิปริญญาตรี วิทยาศาสตร์/ วิศวกรรม) ดำเนินการเก็บขนและกำจัดตามหลักเกณฑ์ ในกฎกระทรวง ควบคุมดูแลสถานบริการการสาธารณสุข & ห้องปฏิบัติการเชื้ออันตรายให้ปฏิบัติตามกฎกระทรวง ควบคุมดูแลผู้รับมอบ /ผู้ได้รับอนุญาตให้ปฏิบัติตามกฎกระทรวง อาจร่วมกันหลายท้องถิ่นในการดำเนินการร่วมกันได้

การดำเนินการของ สถานบริการ & ห้องปฏิบัติการฯ การเก็บ /ขน ต้องจัดให้มีบุคลากร วุฒิ วทบ. อย่างน้อย 1 คน การดำเนินการของ สถานบริการ & ห้องปฏิบัติการฯ การกำจัด ต้องจัดให้มีบุคลากร วุฒิ วทบ./วิศวะ อย่างน้อย 1-2คน แล้วแต่กรณี ต้องเก็บ /รวบรวมมูลฝอยฯ ให้ต้องด้วยสุขลักษณะตามกฎกระทรวง ต้องมีที่พักรวมมูลฝอยฯ (ถ้าเก็บเกินกว่า 7 วัน ที่พักต้องควบคุมอุณหภูมิได้) กรณีกำจัดเอง ต้องแจ้งเจ้าพนักงานท้องถิ่น & ได้รับความเห็นชอบก่อน

หมวด 2 การเก็บมูลฝอยติดเชื้อ 1) ภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อ แบบกล่อง สำหรับของมีคม ไม่มากกว่า 3/4 แบบถุง กรณีมิใช่ของมีคม ไม่มากกว่า 2/3

2) การเก็บรวบรวมมูลฝอย หมวด 2 การเก็บมูลฝอยติดเชื้อ (ต่อ) 2) การเก็บรวบรวมมูลฝอย เก็บทันที ณ ที่เกิดมูลฝอย & ไม่ปนกับมูลฝอยอื่น จัดให้มีที่เก็บ ณ มุมห้องได้ แต่ไม่เกิน 1 วัน จัดให้มีที่พักรวมมูลฝอยติดเชื้อ (กรณีพักค้างคืน) แยกอาคาร /ห้อง & พื้นผนังเรียบ ขนาดพอรองรับไม่น้อยกว่า 2 วัน โปร่งไม่อับทึบ & ป้องกันสัตว์นำโรค ประตูล็อกได้ พิมพ์ “ที่พักรวมมูลฝอยติดเชื้อ” มีลานล้างรถเข็น รางระบายน้ำ กรณีเก็บเกิน 7 วัน ต้องคุมที่ ต่ำกว่า 10 ซ.

3) การเคลื่อนย้ายมูลฝอยติดเชื้อ หมวด 2 การเก็บมูลฝอยติดเชื้อ (ต่อ) 3) การเคลื่อนย้ายมูลฝอยติดเชื้อ บุคลากรที่ทำหน้าที่เคลื่อนย้ายต้องมีความรู้ & สวมชุดปฏิบัติงานที่ป้องกันอันตรายได้ การเคลื่อนย้ายมูลฝอยฯ ต้องใช้ “รถเข็น” ไปตามเส้นทางที่กำหนด ต้องทำด้วยวัสดุที่ทำความสะอาดง่าย มีผนังปิดมิดชิด /ไม่มีแง่มุม มีอุปกรณ์ทำความสะอาดกรณีมูลฝอยฯ ตกหล่น พิมพ์ “รถเข็นมูลฝอยติดเชื้อ ห้ามใช้ในกิจการอื่น” กรณีมูลฝอยฯ ตกหล่นต้องใช้อุปกรณ์เก็บ & ทำความสะอาดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อโรค

1) การจัดให้มีพาหนะอุปกรณ์ และสถานที่ หมวด 3 การขนมูลฝอยติดเชื้อ 1) การจัดให้มีพาหนะอุปกรณ์ และสถานที่ มียานพาหนะขนมูลฝอยติดเชื้อ จำนวนเพียงพอ ตัวถังปิดทึบ ภายในบุด้วยวัสดุทนทาน ทำความสะอาดง่าย กรณีมูลฝอยฯ เก็บนานกว่า 7 วัน ต้องควบคุมอุณหภูมิได้ ต่ำกว่า 10 องศาเซลเซียส จัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันอันตราย & อุปกรณ์สื่อสาร พิมพ์ “ใช้เฉพาะขนมูลฝอยติดเชื้อ” พิมพ์ชื่อท้องถิ่น /ชื่อ สถานที่ รหัส/เลขใบอนุญาต เลขโทรศัพท์ (สีแดง) ต้องจัดให้มีที่พักรวม & บริเวณที่จอดรถขน

2) วิธีการขนมูลฝอยติดเชื้อ หมวด 3 การขนมูลฝอยติดเชื้อ (ต่อ) 2) วิธีการขนมูลฝอยติดเชื้อ ผู้ขับขี่และผู้ปฏิบัติงานต้องมีความรู้ & สวมชุดป้องกันส่วนบุคคลขณะปฏิบัติงาน ต้องขนโดยพาหนะขนมูลฝอยติดเชื้อ ต้องขนสม่ำเสมอตามวัน เวลาที่กำหนด กรณีมูลฝอยฯ ตกหล่นต้องใช้อุปกรณ์เก็บ & ทำความสะอาดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อโรค ห้ามนำยานพาหนะไปใช้ในกิจการอื่น

1) การจัดให้มีสถานที่ และอุปกรณ์เครื่องมือ หมวด 4 การกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ 1) การจัดให้มีสถานที่ และอุปกรณ์เครื่องมือ ต้องจัดให้มีที่พักรวม กว้างเพียงพอเพื่อรอการกำจัด พิมพ์ “ที่เก็บกักภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อ” สีแดง ต้องจัดให้มีเครื่องป้องกันอันตรายส่วนบุคคลสำหรับผู้ปฏิบัติงาน มีอุปกรณ์/เครื่องมือป้องกันอัคคีภัย /อุบัติเหตุ

2) หลักเกณฑ์ในการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ หมวด 4 การกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ (ต่อ) 2) หลักเกณฑ์ในการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ ผู้ปฏิบัติงานต้องมีความรู้ & สวมชุดป้องกันอันตรายส่วนบุคคลขณะปฏิบัติงาน ต้องกำจัดโดยวิธีใดวิธีหนึ่งต่อไปนี้ เผาในเตาเผา ทำลายเชื้อด้วยไอน้ำ ทำลายเชื้อด้วยความร้อน วิธีอื่นตามประกาศฯ เศษที่เหลือ ให้กำจัดตามวิธีกำจัดมูลฝอยทั่วไป เว้นแต่ สธ.กำหนดเป็นอย่างอื่น ต้องกำจัดภายใน 30 วันนับแต่วันที่ขนมาจากที่พักมูลฝอยรวม

3) วิธีการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ หมวด 4 การกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ (ต่อ) 3) วิธีการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ การกำจัดที่ใช้วิธีการอื่น การกำจัดที่ใช้เตาเผา ต้องให้ได้มาตรฐานทางชีวภาพ คือ ทำลายเชื้อโรคได้หมด โดยตรวจสอบด้วยวิธีการตรวจวิเคราะห์เชื้อบะซิลลัสสะเทียโรเธอร์โมฟิลลัส หรือบะซิลลัสซับทิลิส ต้องให้ได้มาตรฐาน คือ ต้องมี 2 ห้องเผา ห้อง (1) เผามูลฝอย ไม่ต่ำกว่า 760 ซ. ห้อง (2)เผาควัน ไม่ต่ำกว่า 1,000 ซ. และ ต้องได้มาตรฐานอากาศเสียตาม สธ.กำหนด สถานบริการ & ห้องปฏิบัติการฯผู้ได้รับอนุญาต ต้องตรวจสอบเป็นประจำและรายงานให้ท้องถิ่นทราบ

ผู้ได้รับอนุญาตรับทำ สรุปขอบเขตการควบคุม ราชการส่วนท้องถิ่น สถานบริการ การสาธารณสุข ห้องปฏิบัติการ เชื้ออันตราย ผู้ได้รับมอบ จากราชการ ส่วนท้องถิ่น ผู้ได้รับอนุญาตรับทำ การเก็บ ขน กำจัด โดยทำเป็นธุรกิจ กรณีทีมีการกำจัดเองต้องแจ้งเจ้าพนักงานท้องถิ่นพิจารณาตรวจสอบ (ภายใน 90 วัน) ต้องปฏิบัติให้ถูกสุขลักษณะเรื่องการเก็บรวบรวม ขน กำจัดตามกฎกระทรวง ต้องจัดให้มีบุคลากร /แต่งตั้งผู้รับผิดชอบที่มีคุณวุฒิระดับปริญญาตรี ดูแลระบบการเก็บ ขน กำจัด (ภายใน 90 วัน) ต้องจัดให้ผู้ปฏิบัติ เข้ารับการอบรมตามหลักสูตรที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด

ภารกิจของกระทรวงสาธารณสุข/กรมอนามัย ประกาศ ยกเว้นไม่ใช้บังคับเรื่องการขน การกำจัดในเขต เทศบาลตำบล อบจ. อบต.(ข้อ 2(2)) กำหนดห้องรักษาผู้ป่วยติดเชื้อร้ายแรง(ข้อ 3) กำหนดสถานพยาบาล สถานพยาบาลสัตว์ของหน่วยงานอื่นของรัฐเป็นสถานพยาบาลของราชการ(ข้อ 3)  กำหนดลักษณะและเงื่อนไขของห้องปฏิบัติการเชื้ออันตราย(ข้อ 3) กำหนดวิธีกำจัดมูลฝอยติดเชื้อที่ถ่าย เทหรือทิ้ง(ข้อ 4 วรรคสอง) ตราหรือสัญลักษณ์สำหรับภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อที่ใช้ระหว่างประเทศ(ข้อ 13 วรรคสอง) กำหนดขนาดของภาชนะบรรจุ ในสถานบริการการสาธารณสุขหรือ ห้องปฏิบัติการเชื้ออันตราย (ข้อ 13 วรรคสาม)

ภารกิจของกระทรวงสาธารณสุข/กรมอนามัย ประกาศ กำหนดชนิดและจำนวนสัตว์ของสถานพยาบาลสัตว์ที่มีที่พักสัตว์ป่วยค้างคืนที่ไม่ต้องจัดให้มีที่พักรวมมูลฝอยติดเชื้อแต่ต้องมีบริเวณที่พักภาชนะ(ข้อ 19(2)) กำหนดสถานที่ที่อาจมีมูลฝอยติดเชื้อที่ไม่ต้องจัดให้มีที่พักรวมมูลฝอยติดเชื้อแต่ต้องมีบริเวณที่พักภาชนะ (ข้อ 19(3)) กำหนดลักษณะบริเวณที่พักภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อ (ข้อ 19 วรรคสอง) กำหนดแบบเตาเผามูลฝอยติดเชื้อ(ข้อ 26) กำหนดมาตรฐานอากาศเสียจากเตาเผามูลฝอยติดเชื้อ (ข้อ 26) กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการตรวจสอบมาตรฐานทางชีวภาพภายหลังกำจัดโดยวิธีไอน้ำ ความร้อน หรือวิธีอื่น (ข้อ 27 วรรคสอง)

ภารกิจของกระทรวงสาธารณสุข/กรมอนามัย ประกาศ กำหนดหลักสูตรและระยะเวลาการอบรมผู้ปฏิบัติงาน เคลื่อนย้าย ขน และกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ ผู้ขับขี่ ยานพาหนะขนมูลฝอยติดเชื้อ(ข้อ 17(1) ข้อ 20(2) และข้อ 24(4)) กำหนดวิธีกำจัดเศษของมูลฝอยติดเชื้อหลังจากการกำจัด (ข้อ 28) ให้การสนับสนุน ช่วยท้องถิ่นตรวจสอบระบบกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ กรณีกำจัดเอง สนับสนุนระบบการกำจัด (เตาเผา รพ.) แจ้งข้อปฏิบัติตามกฎกระทรวงให้สถานพยาบาลของรัฐทั่วประเทศ

ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข WEB SITE ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข http://laws.anamai.moph.go.th/index.htm ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทร. 0-2590-4175, 0-2590-4219, 0-2590-4223, 0-2590-4256 โทรสาร 0-2591-8180