งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สารบัญญัติ ของพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สารบัญญัติ ของพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สารบัญญัติ ของพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย สารบัญญัติ ของพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 โดย...ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย

2 สารบัญญัติของกฎหมายสาธารณสุข
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย สารบัญญัติของกฎหมายสาธารณสุข หมวด 3 การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย หมวด 4 สุขลักษณะของอาคาร หมวด 5 เหตุรำคาญ หมวด 6 การควบคุมการเลี้ยง / ปล่อยสัตว์ หมวด 7 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ หมวด 8 ตลาด สถานที่จำหน่ายอาหาร / สะสมอาหาร หมวด 9 การจำหน่ายสินค้าในที่ / ทางสาธารณะ

3 การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย

4 ความหมายของสิ่งปฏิกูล
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย ความหมายของสิ่งปฏิกูล อุจจาระหรือปัสสาวะ และหมายความรวมถึงสิ่งอื่นใดซึ่งเป็นสิ่งโสโครกหรือมีกลิ่นเหม็น

5 มติคณะกรรมการสาธารณสุขที่เกี่ยวกับสิ่งปฏิกูล
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย มติคณะกรรมการสาธารณสุขที่เกี่ยวกับสิ่งปฏิกูล มติการประชุมครั้งที่.../.....

6 ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย
ความหมายของมูลฝอย เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า เศษวัตถุ ถุงพลาสติกภาชนะที่ใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์ ซากสัตว์ หรือสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์ หรือที่อื่น(มูลฝอยทั่วไป) มูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน

7 มติคณะกรรมการสาธารณสุขที่เกี่ยวกับมูลฝอย
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย มติคณะกรรมการสาธารณสุขที่เกี่ยวกับมูลฝอย มติการประชุมครั้งที่.../...

8 อำนาจหน้าที่ของราชการส่วนท้องถิ่น
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย อำนาจหน้าที่ของราชการส่วนท้องถิ่น การบริหารจัดการ ให้บริการเก็บ ขน หรือกำจัดเอง มอบให้บุคคลใดดำเนินการแทนภายใต้การควบคุมดูแลของราชการส่วนท้องถิ่น อนุญาตให้บุคคลใดเป็นผู้ดำเนินกิจการรับทำการเก็บ ขน หรือกำจัด ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น ห้ามการถ่าย เท ทิ้ง หรือทำให้มีขึ้นในที่หรือทางสาธารณะนอกจากในที่ที่ราชการส่วนท้องถิ่นจัดไว้ให้ กำหนดให้มีที่รองรับตามที่หรือทางสาธารณะและสถานที่เอกชน กำหนดวิธีการเก็บ ขน และกำจัดหรือให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคารหรือสถานที่ใด ๆ ปฏิบัติให้ถูกต้องด้วยสุขลักษณะตามสภาพหรือลักษณะการใช้อาคารหรือสถานที่นั้น ๆ

9 อำนาจหน้าที่ของราชการส่วนท้องถิ่น
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย อำนาจหน้าที่ของราชการส่วนท้องถิ่น ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น กำหนดอัตราค่าธรรมเนียมในการให้บริการของราชการส่วนท้องถิ่น หรือบุคคลอื่นที่ราชการส่วนท้องถิ่นมอบให้ดำเนินการแทน ในการเก็บ ขน หรือกำจัดไม่เกินอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง ทั้งนี้ การจะกำหนดอัตราค่าธรรมเนียมการกำจัด ราชการส่วนท้องถิ่นนั้นจะต้องดำเนินการให้ถูกต้องด้วยสุขลักษณะตามที่กำหนดในกฎกระทรวง

10 อำนาจหน้าที่ของราชการส่วนท้องถิ่น
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย อำนาจหน้าที่ของราชการส่วนท้องถิ่น ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการเก็บ ขน และกำจัด เพื่อให้ผู้รับใบอนุญาตปฏิบัติ ตลอดจนกำหนดอัตราค่าบริการขั้นสูงตามลักษณะการให้บริการที่ผู้รับใบอนุญาตจะพึงเรียกเก็บได้ กำหนดการอื่นใดที่จำเป็น เพื่อให้ถูกต้องด้วยสุขลักษณะ

11 ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย
การดำเนินการร่วมกัน ในการดำเนินการเก็บ ขน หรือกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือมูลฝอย ราชการส่วนท้องถิ่นอาจร่วมกับหน่วยงานของรัฐหรือราชการส่วนท้องถิ่นอื่นดำเนินการภายใต้ข้อตกลงร่วมกันก็ได้ แต่ในกรณีจำเป็นเพื่อประโยชน์สาธารณะโดยส่วนรวม รัฐมนตรีมีอำนาจออกกฎกระทรวงโดยคำแนะนำของคณะกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขในการดำเนินการร่วมกันได้(ม.18 วรรคสอง)

12 ขอบเขตของกฎหมายสาธารณสุข
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย ขอบเขตของกฎหมายสาธารณสุข บทบัญญัติตามมาตรานี้ และมาตรา 19 มิให้ใช้บังคับกับการจัดการของเสียอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน แต่ให้ผู้ดำเนินกิจการโรงงานที่มีของเสียอันตราย และผู้ดำเนินกิจการรับทำการเก็บ ขนหรือกำจัดของเสียอันตรายดังกล่าวแจ้งการดำเนินกิจการเป็นหนังสือต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น(ม.18 วรรคสี่)

13 ขอบเขตการจัดการมูลฝอยตามกฎหมายสาธารณสุขกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย ขอบเขตการจัดการมูลฝอยตามกฎหมายสาธารณสุขกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง มูลฝอย มูลฝอยทั่วไป มูลฝอยอันตราย กฎหมายสาธารณสุข มูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยอันตรายจากชุมชน กฎหมายโรงงาน กากอุตสาหกรรมที่เป็นพิษ กฎหมายพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ กัมมันตภาพรังสี

14 อำนาจหน้าที่ของราชการส่วนท้องถิ่น อนุญาตให้เอกชนดำเนินการเป็นธุรกิจ
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย อำนาจหน้าที่ของราชการส่วนท้องถิ่น การบริหารจัดการ ข้อกำหนดของท้องถิ่น กำหนดหลักเกณฑ์ด้านสุขลักษณะเพื่อควบคุม ประชาชนทั่วไป ผู้ประกอบกิจการที่ได้รับใบอนุญาต ดำเนินการเอง ควบคุม มอบให้ผู้อื่น ดำเนินการ อนุญาตให้เอกชนดำเนินการเป็นธุรกิจ

15 หลักเกณฑ์สำหรับประชาชนทั่วไป
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย หลักเกณฑ์สำหรับประชาชนทั่วไป (1) ห้ามการถ่าย เท ทิ้งมูลฝอย นอกจากที่จัดไว้ให้ (2) กำหนดให้มีที่รองรับมูลฝอยในที่สาธารณะและที่เอกชน (3) กำหนดวิธีการเก็บ ขน และกำจัดมูลฝอยให้เจ้าของ อาคารปฏิบัติ (6) กำหนดการอื่นใดที่จำเป็นเพื่อให้ถูกต้องด้วยสุขลักษณะ

16 หลักเกณฑ์สำหรับผู้ประกอบกิจการ
กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเก็บ ขน และกำจัดมูลฝอย เพื่อให้ผู้รับใบอนุญาตตามมาตรา 19 ปฏิบัติ ตลอดจนกำหนด อัตราค่าบริการขั้นสูง ตามลักษณะการให้บริการที่ผู้รับใบอนุญาตตามมาตรา 19 จะพึงเรียกเก็บได้ กำหนดการอื่นใดที่จำเป็นเพื่อให้ถูกต้องด้วยสุขลักษณะ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย

17 กฎกระทรวง เกี่ยวกับสุขลักษณะในการจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย กฎกระทรวง เกี่ยวกับสุขลักษณะในการจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย กฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545 ร่างกฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการมูลฝอยทั่วไป พ.ศ. .... ร่างกฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน พ.ศ. .... ร่างกฎกระทรวงว่าด้วยสุขลักษณะในการจัดการสิ่งปฏิกูล พ.ศ. .... ร่างกฎกระทรวงว่าด้วยอัตราค่าธรรมเนียมฯ

18 สรุปการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎกระทรวง
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย สรุปการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎกระทรวง ราชการส่วนท้องถิ่น สถานบริการ การสาธารณสุข ห้องปฏิบัติการ เชื้ออันตราย ผู้ได้รับมอบ จากราชการ ส่วนท้องถิ่น ผู้ได้รับใบอนุญาต รับทำการเก็บ ขน กำจัด โดยทำเป็นธุรกิจ กรณีทีมีการกำจัดเองต้องแจ้ง เจ้าพนักงานท้องถิ่นพิจารณาตรวจสอบ (ภายใน 90 วัน) ต้องปฏิบัติให้ถูกสุขลักษณะเรื่องการเก็บ การขน และการกำจัดตามกฎกระทรวง ต้องจัดให้มีบุคลากร /แต่งตั้งผู้รับผิดชอบที่มีคุณวุฒิระดับปริญญาตรี ดูแลระบบการเก็บ การขน การกำจัด (ภายใน 90 วัน) ต้องจัดให้ผู้ปฏิบัติเข้ารับการอบรมตามหลักสูตรที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด

19 หลักเกณฑ์ทั่วไป สำหรับราชการส่วนท้องถิ่น
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย หลักเกณฑ์ทั่วไป สำหรับราชการส่วนท้องถิ่น จัดให้มีสถานที่ทิ้งในที่สาธารณะ และกำหนดวิธีการกำจัดในท้องถิ่น จัดให้มีผู้รับผิดชอบอย่างน้อย 1 คน (วุฒิปริญญาตรี วิทยาศาสตร์/ วิศวกรรม) ดำเนินการเก็บขนและกำจัดตามหลักเกณฑ์ในกฎกระทรวง ควบคุมดูแลสถานบริการการสาธารณสุข & ห้องปฏิบัติการ เชื้ออันตรายให้ปฏิบัติตามกฎกระทรวง ควบคุมดูแลผู้รับมอบ /ผู้ได้รับอนุญาตให้ปฏิบัติตามกฎกระทรวง อาจร่วมกันหลายท้องถิ่นในการดำเนินการร่วมกันได้

20 หลักเกณฑ์ทั่วไปสำหรับสถานบริการฯ/ห้องปฏิบัติการฯ
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย การเก็บ /ขน ต้องจัดให้มีบุคลากร มีวุฒิ วทบ. อย่างน้อย 1 คน หลักเกณฑ์ทั่วไปสำหรับสถานบริการฯ/ห้องปฏิบัติการฯ การกำจัด ต้องจัดให้มีบุคลากร วุฒิ วทบ./วิศวะ อย่างน้อย 1-2 คน แล้วแต่กรณี ต้องเก็บ /รวบรวมมูลฝอยฯ ให้ต้องด้วยสุขลักษณะตามกฎกระทรวง ต้องมีที่พักรวมมูลฝอยฯ (ถ้าเก็บเกินกว่า 7 วัน ที่พักต้องควบคุมอุณหภูมิได้) กรณีกำจัดเอง-ต้องแจ้ง เจ้าพนักงานท้องถิ่นและต้องได้รับความเห็นชอบก่อน

21 หมวด 2 การเก็บมูลฝอยติดเชื้อ
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย หมวด 2 การเก็บมูลฝอยติดเชื้อ 1) ภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อ แบบกล่อง สำหรับของมีคม ไม่มากกว่า 3/4 แบบถุง กรณีมิใช่ของมีคม ไม่มากกว่า 2/3

22 2) การเก็บรวบรวมมูลฝอย
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย หมวด 2 การเก็บมูลฝอยติดเชื้อ (ต่อ) 2) การเก็บรวบรวมมูลฝอย เก็บทันที ณ ที่เกิดมูลฝอย & ไม่ปนกับมูลฝอยอื่น จัดให้มีที่เก็บ ณ มุมห้องได้ แต่ไม่เกิน 1 วัน จัดให้มีที่พักรวมมูลฝอยติดเชื้อ (กรณีพักค้างคืน) แยกอาคาร /ห้อง & พื้นผนังเรียบ ขนาดพอรองรับไม่น้อยกว่า 2 วัน โปร่งไม่อับทึบ & ป้องกันสัตว์นำโรค ประตูล็อกได้ พิมพ์ “ที่พักรวมมูลฝอยติดเชื้อ” มีลานล้างรถเข็น รางระบายน้ำ เก็บเกิน 7 วัน ควบคุมอุณหภูมิต่ำกว่า 10 ซ.

23 3) การเคลื่อนย้ายมูลฝอยติดเชื้อ
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย หมวด 2 การเก็บมูลฝอยติดเชื้อ (ต่อ) 3) การเคลื่อนย้ายมูลฝอยติดเชื้อ บุคลากรที่ทำหน้าที่เคลื่อนย้ายต้องมีความรู้ & สวมชุดปฏิบัติงานที่ป้องกันอันตรายได้ การเคลื่อนย้ายมูลฝอยฯ ต้องใช้ “รถเข็น” ไปตามเส้นทางที่กำหนด ต้องทำด้วยวัสดุที่ทำความสะอาดง่าย มีผนังปิดมิดชิด /ไม่มีแง่มุม มีอุปกรณ์ทำความสะอาดกรณีมูลฝอยฯ ตกหล่น พิมพ์ “รถเข็นมูลฝอยติดเชื้อ ห้ามใช้ในกิจการอื่น” กรณีมูลฝอยฯ ตกหล่นต้องใช้อุปกรณ์เก็บ & ทำความสะอาดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อโรค

24 1) การจัดให้มีพาหนะอุปกรณ์ และสถานที่
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย หมวด 3 การขนมูลฝอยติดเชื้อ 1) การจัดให้มีพาหนะอุปกรณ์ และสถานที่ มียานพาหนะขนมูลฝอยติดเชื้อจำนวนที่เพียงพอ ตัวถังปิดทึบ ภายในบุด้วยวัสดุทนทาน ทำความสะอาดง่าย กรณีมูลฝอยฯ เก็บนานกว่า 7 วัน ต้องควบคุมอุณหภูมิได้ ต่ำกว่า 10 องศาเซลเซียส จัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันอันตราย & อุปกรณ์สื่อสาร พิมพ์ “ใช้เฉพาะขนมูลฝอยติดเชื้อ” พิมพ์ชื่อท้องถิ่น /ชื่อ สถานที่ รหัส/เลขใบอนุญาต เลขโทรศัพท์ (สีแดง) ต้องจัดให้มีที่พักรวม & บริเวณที่จอดรถขน

25 2) วิธีการขนมูลฝอยติดเชื้อ
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย หมวด 3 การขนมูลฝอยติดเชื้อ (ต่อ) 2) วิธีการขนมูลฝอยติดเชื้อ ผู้ขับขี่และผู้ปฏิบัติงานต้องมีความรู้ & สวมชุดป้องกันส่วนบุคคลขณะปฏิบัติงาน ต้องขนโดยพาหนะขนมูลฝอยติดเชื้อ ต้องขนสม่ำเสมอตามวัน เวลาที่กำหนด กรณีมูลฝอยฯ ตกหล่นต้องใช้อุปกรณ์เก็บ & ทำความสะอาดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อโรค ห้ามนำยานพาหนะไปใช้ในกิจการอื่น

26 1) การจัดให้มีสถานที่ และอุปกรณ์เครื่องมือ
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย หมวด 4 การกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ 1) การจัดให้มีสถานที่ และอุปกรณ์เครื่องมือ ต้องจัดให้มีที่พักรวม กว้างเพียงพอ เพื่อรอการกำจัด พิมพ์ “ที่เก็บกักภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อ” สีแดง ต้องจัดให้มีเครื่องป้องกันอันตรายส่วนบุคคลสำหรับผู้ปฏิบัติงาน มีอุปกรณ์/เครื่องมือป้องกันอัคคีภัย /อุบัติเหตุ

27 2) หลักเกณฑ์ในการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย หมวด 4 การกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ (ต่อ) 2) หลักเกณฑ์ในการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ ผู้ปฏิบัติงานต้องมีความรู้ & สวมชุดป้องกันอันตรายส่วนบุคคลขณะปฏิบัติงาน ต้องกำจัดโดยวิธีใดวิธีหนึ่งต่อไปนี้ เผาในเตาเผา ทำลายเชื้อด้วยไอน้ำ ทำลายเชื้อด้วยความร้อน วิธีอื่นตามประกาศฯ เศษที่เหลือ ให้กำจัดตามวิธีกำจัดมูลฝอยทั่วไป เว้นแต่ สธ.กำหนดเป็นอย่างอื่น ต้องกำจัดภายใน 30 วันนับแต่วันที่ขนมาจากที่พักมูลฝอยรวม

28 3) วิธีการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย หมวด 4 การกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ (ต่อ) 3) วิธีการกำจัดมูลฝอยติดเชื้อ การกำจัดที่ใช้วิธีการอื่น การกำจัดที่ใช้เตาเผา ต้องให้ได้มาตรฐานทางชีวภาพ คือ ทำลายเชื้อโรคได้หมด โดยตรวจสอบด้วยวิธีการตรวจวิเคราะห์เชื้อสะเทียโรเธอร์โมฟิลลัสหรือบะซิลลัสซับทิลิส ต้องให้ได้มาตรฐาน คือ ต้องมี 2 ห้องเผา ห้อง (1) เผามูลฝอย ไม่ต่ำกว่า 760 ซ. ห้อง (2)เผาควัน ไม่ต่ำกว่า 1,000 ซ. และ ต้องได้มาตรฐานอากาศเสียตาม สธ.กำหนด สถานบริการ & ห้องปฏิบัติการฯผู้ได้รับอนุญาต ต้องตรวจสอบเป็นประจำและรายงานให้ท้องถิ่นทราบ

29 สุขลักษณะของอาคาร

30 ห้ามเจ้าของ / ผู้ครอบครองอาคาร ถ้า ฝ่า ฝืน
1. ทำให้อาคาร/ ส่วน /สิ่งที่ต่อเนื่องของอาคาร ชำรุดทรุดโทรม สภาพรกรุงรัง จนอาจเป็นอันตราย ต่อสุขภาพของ ผู้อยู่อาศัย/ เป็นที่ อาศัยของสัตว์ ให้โทษ ถ้า ฝ่า ฝืน 2. มีสินค้า/ เครื่องเรือน/ สัมภาระ/ สิ่งของ มากเกินไป/ซับ ซ้อนกันเกินไป 3. ยอม/จัดให้คน อาศัยอยู่ มากเกินไป ออกคำสั่งให้แก้ไข/เปลี่ยนแปลง/ รื้อถอน/ย้ายหรือจัดเสียใหม่ เจ้าพนักงานท้องถิ่น ถ้าไม่ปฏิบัติตามคำสั่ง มีอำนาจเข้าดำเนินการได้ โดยเจ้าของเป็นผู้เสียค่าใช้จ่าย

31 เหตุรำคาญ

32 ลักษณะของเหตุรำคาญตามกฎหมาย(ม. 25)
(1) แหล่งน้ำ ทางระบายน้ำ/ ที่อาบน้ำ /ส้วม/ที่ใส่มูล เถ้า สถานที่อื่นใด ทำเลไม่เหมาะสม สกปรก/หมักหมม กลิ่นเหม็น ละอองพิษ ที่เพาะพันธุ์ ในที่/โดยวิธีใด /มากเกินไป (2) การเลี้ยงสัตว์ จนเป็นเหตุ ให้เสื่อมหรือ อาจเป็นอันตราย ต่อสุขภาพ ไม่มีการระบายอากาศ การระบายน้ำทิ้ง การกำจัดสิ่งปฏิกูล การควบคุมสารพิษ มี แต่ไม่มีการควบคุม จนเกิด กลิ่นเหม็น /ละอองสารพิษ (3) อาคาร/ โรงงาน /สถานประกอบการ ให้เกิด กลิ่น แสง รังสี เสียง ความร้อน สิ่งมีพิษ ความสั่นสะเทือน ฝุ่น ละออง เขม่า เถ้าหรือกรณีอื่นใด (4) การกระทำใด (5) เหตุอื่นใดที่รัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

33 องค์ประกอบของเหตุรำคาญ
มีเหตุเกิดขึ้น เหตุที่เกิดนั้น อาจก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้อยู่อาศัยในบริเวณใกล้เคียงหรือผู้ที่ต้องประสบกับเหตุนั้น เป็นเหตุให้เสื่อมหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ

34 เกิดหรืออาจเกิดขึ้นในที่/ทางสาธารณะ เกิดขึ้นในสถานที่เอกชน
การควบคุม เหตุรำคาญ (ม.27) (ม. 28) เกิดหรืออาจเกิดขึ้นในที่/ทางสาธารณะ เกิดขึ้นในสถานที่เอกชน สั่งให้เจ้าของ / ผู้ครอบครอง สถานที่ระงับ/ แก้ไข ภายใน เวลาอันสมควร สั่งให้บุคคลที่ก่อเหตุ ระงับ/ ป้องกัน ภายใน เวลาอันสมควร จพง. ท้องถิ่น มีอำนาจ ถ้าเป็นกรณีที่อาจ เป็นอันตรายร้ายแรง ถ้าไม่แก้ไข ถ้าไม่แก้ไขและอาจ เป็นอันตรายร้ายแรง เข้าไประงับ/ จัดการได้ โดยเจ้าของ/ ผู้ครอบครอง ถ้าเกี่ยวข้องต้องเสียค่าใช้จ่าย สั่งห้ามใช้/ ยินยอม ให้ใช้สถานที่นั้น จนกว่าแก้ไขได้ เข้าไประงับ/ จัดการได้ โดยบุคคลก่อเหตุเป็น ผู้เสียค่าใช้จ่าย

35 การควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์

36 วัตถุประสงค์ เพื่อประโยชน์ในการรักษาสภาวะความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับการดำรงชีพของประชาชนในท้องถิ่นหรือ เพื่อป้องกันอันตรายจากเชื้อโรคที่เกิดจากสัตว์

37 ราชการ ส่วนท้องถิ่น ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น (ม. 29)
กำหนดให้ส่วนใดของพื้นที่หรือทั้งหมด เป็นเขตควบคุมการเลี้ยง /ปล่อยสัตว์ เขตห้ามเลี้ยง/ปล่อยสัตว์บางชนิดโดยเด็ดขาด เขตห้ามเลี้ยง/ปล่อยสัตว์บางชนิด เกินกว่าจำนวนที่กำหนด เขต ให้เลี้ยงหรือปล่อยสัตว์บางชนิด โดยต้องอยู่ภายใต้ มาตรการอย่างใดอย่างหนึ่ง

38 เขตควบคุมซึ่งเป็นที่หรือทางสาธารณะ (ม.30)
จพง.ท้องถิ่นมีอำนาจกักสัตว์ ที่ไม่ปรากฏเจ้าของได้เป็นเวลา 30 วัน (ม.30) เจ้าของมารับ ภายใน 30 วัน ไม่มีผู้ใด มารับ เกิดอันตรายต่อสัตว์อื่น/ เสียค่าใช้จ่ายเกินสมควร กรณีที่สัตว์ นั้นเป็น โรคติดต่อ เจ้าของเสีย * ค่าเลี้ยงดู * ค่าปรับ ตกเป็นของ ราชการ ส่วนท้องถิ่น ขาย/ขายทอด ตลาดได้ ทำลายหรือจัดการ ตามสมควร หักเงินค่าใช้จ่าย เก็บเงินส่วนเหลือเป็นเวลา 30 วัน แทนสัตว์ มีเจ้าของมารับ ให้มอบเงิน ส่วนที่เหลือจากค่าปรับ ไม่มีผู้ใดมารับให้เงินนั้นตกเป็น ของราชการส่วนท้องถิ่น

39 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ

40 กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพหมายถึงอะไร?
หมายถึง กิจการที่มีกระบวนการผลิตหรือกระบวนการบริการที่อาจก่อให้เกิดสิ่งที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของบุคคลหรือสาธารณชน ได้แก่ กิจการที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดตามมาตรา 31 ประกาศ ฉ 5/2538 ร่างประกาศใหม่

41 การควบคุม เรื่องกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ราชการส่วนท้องถิ่น ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น (ม.32) กฎกระทรวงตาม ม.6 (1) กำหนดประเภทกิจการ ที่ต้องควบคุมภายในท้องถิ่น (2) กำหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไขทั่วไป เงื่อนไขเฉพาะ ในใบอนุญาต ประกอบกิจการ ในลักษณะที่ เป็นการค้า ต้องปฏิบัติตาม ได้รับอนุญาต จาก จพถ. ภายใน 90 วัน ประกอบกิจการ ในลักษณะที่ ไม่เป็นการค้า

42 ตลาด

43 ตลาดหมายถึงอะไร? “ตลาด” หมายความว่า สถานที่ซึ่งปกติจัดไว้ให้ผู้ค้าใช้เป็นที่ชุมนุมเพื่อจำหน่ายสินค้าประเภทสัตว์ เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ หรืออาหารอันมีสภาพเป็นของสด ประกอบหรือปรุงแล้วหรือของเสียง่าย ทั้งนี้ ไม่ว่าจะมีการจำหน่ายสินค้าประเภทอื่นด้วยหรือไม่ก็ตาม และหมายความรวมถึงบริเวณซึ่งจัดไว้สำหรับให้ผู้ค้าใช้เป็นที่ชุมนุมเพื่อจำหน่ายสินค้าประเภทดังกล่าวเป็นประจำหรือเป็นครั้งคราวหรือตามวันที่กำหนด

44 หน้าที่ของผู้จัดตั้งตลาด
เอกชน กระทรวง ทบวง กรม ไม่ต้อง ขออนุญาต ต้อง ขออนุญาต เปลี่ยนแปลง ขยาย/ลด ขนาดตลาด เงื่อนไขเฉพาะที่ แจ้งเป็นหนังสือ เจ้าพนักงาน ท้องถิ่น ต้องปฏิบัติตาม ข้อกำหนดของท้องถิ่น กฎกระทรวงตาม ม.6

45 ข้อกำหนดของท้องถิ่น 1) สุขลักษณะของตลาด ที่ตั้ง แผนผัง สิ่งปลูกสร้าง
การจัดสถานที่ การวางสิ่งของ การรักษาความสะอาด การกำจัดสิ่งปฏิกูลมูลฝอย การระบายน้ำทิ้ง การป้องกันเหตุรำคาญและการระบาดของโรค 2) สุขลักษณะของผู้ขายและผู้ช่วยขายในตลาด


ดาวน์โหลด ppt สารบัญญัติ ของพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google