งานวิจัยด้านการเกษตรอินทรีย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดกิจกรรมโครงการฯ
Advertisements

วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การจัดการศึกษาในชุมชน
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติตามคู่มือสำนักงานคณะกรรมการกระจายอำนาจ ฯ
โครงการ ส่งเสริมการผลิตข้าว ที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายอามะ แวดราแม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลช้างทูน อำเภอบ่อ ไร่ จังหวัดตราด.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายสมบัติ เซี่ยงว่อง
งานวิจัยแบบสหสาขาวิชาการ
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
ภาควิชาส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร
วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
หัวข้อการ อภิปราย กระบวนการจัดทำแผน ชุมชนและการขับเคลื่อน การดำเนินงาน สู่ชุมชน กระบวนการจัดทำแผน ชุมชนและการขับเคลื่อน การดำเนินงาน สู่ชุมชน 9 สิงหาคม.
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
กลยุทธ์การขับเคลื่อน งานพัฒนาชุมชน ให้มีประสิทธิภาพ ประจำปี ๒๕๕๖
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
นโยบายและการ ขับเคลื่อน วัตถุประสงค์ หลัก.
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลและ อำเภอทุ่ง ช้าง จังหวัดน่าน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย จิตร เสียงกอง เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ผลสัมฤทธิ์ของปราชญ์ : กรณีประเมินผล ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานวิจัยด้านการเกษตรอินทรีย์ หัวข้อการอภิปราย งานวิจัยด้านการเกษตรอินทรีย์ วิถีพื้นบ้าน 8 สิงหาคม 2555

ข้อตกลงเบื้องต้น 1. เป็นการอภิปรายเชิงประสบการณ์ตรง 2. เป็นการถอดบทเรียนด้านเกษตรอินทรีย์จากการวิจัยเชิงทดลอง 3. ผลการอภิปราย เป็นองค์ความรู้เฉพาะของวิทยากร

อาจารย์สมพงษ์ เอี่ยมวิริยาวัฒน์ ผู้ร่วมอภิปราย 1. อำนาจ หมายยอดกลาง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาของชาวบ้านโครงการส่งเสริมกสิกรรมไร้สารพิษอันเนื่องมาจากโครงการพระราชดำริ จ.นครราชสีมา 2. คำเดื่อง ภาษี สถาบันฟื้นฟูภูมิปัญญาไทย จ.บุรีรัมย์ 3. นิคม เพชรผา ศูนย์ฝึกอบรมคุณธรรมกสิกรรมธรรมชาติ จ.ยโสธร ดำเนินการอภิปราย อาจารย์สมพงษ์ เอี่ยมวิริยาวัฒน์

พัฒนาการเกษตรอินทรีย์ กลุ่มที่ 1 องค์กรพัฒนาการเกษตร (NGO) มูลนิธิเกษตรยั่งยืน เน้นกรณีศึกษาเฉพาะราย กลุ่มที่ 2 นักวิจัยจากภาครัฐ เป็นการวิจัยเชิงเปรียบเทียบ กลุ่มที่ 3 สถาบันการศึกษา เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ และ เชิงปริมาณ

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเกษตรอินทรีย์แห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2551- 2554 พบว่า 1. มีการอบรมด้านเกษตรอินทรีย์ ไป 1,750,000 คน หรือประมาณ ร้อยละ 34 ของครัวเรือนเกษตรกร 2. พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปทำเกษตร อินทรีย์ในระดับน้อย 3. การนำเข้า และใช้สารเคมี ไม่ได้ลดลง

รศ.ดร.ธยาพร วัฒนศิริ มสธ. 2554 ผลการศึกษาวิจัยของ รศ.ดร.ธยาพร วัฒนศิริ มสธ. 2554 มีข้อเสนอแนะ ควรปรับปรุงกฎระเบียบ และกฎหมายที่เป็นอุปสรรค ต่อการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ และสารชีวภาพ พัฒนาความรู้และศักยภาพของเกษตรกร โดยยึดเกษตกรเป็นศูนย์กลาง และอณุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น จัดให้มีระบบที่สร้างหลักประกันแก่ผู้ผลิตผักเกษตรอินทรีย์

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเกษตรอินทรีย์แห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2555- 2559 ฉบับร่าง ประเด็นที่หน้าสนใจ 1. การบริหารจัดการด้านองค์ความรู้และนวัตกรรม 2. พัฒนาด้านองค์ความรู้ 3. สร้างความเข้มแข็งด้านการตลาด และมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ 4. บูรณาการเพื่อขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ

กระบวนการจัดทำแผนชุมชน และการขับเคลื่อนการดำเนินงานสู่ชุมชน หัวข้อการอภิปราย กระบวนการจัดทำแผนชุมชน และการขับเคลื่อนการดำเนินงานสู่ชุมชน

ข้อตกลงเบื้องต้นของการอภิปราย 1. เป็นการอภิปรายเชิงประสบการณ์ตรง 2. เป็นการถอดบทเรียนด้านการทำแผน ชุมชน 3. ผลการอภิปราย เป็นองค์ความรู้เฉพาะของวิทยากร

อาจารย์สมพงษ์ เอี่ยมวิริยาวัฒน์ ผู้ร่วมอภิปราย 1. พระมหาสุภาพ พุทธวิริโย ศูนย์พัฒนาคุณธรรม จ.กาฬสินธุ์ 2. ไพรัตน์ ชื่นศรี ศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านแสงจันทร์ จ.บุรีรัมย์ 3. อดิศร เหล่าสะพาน ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง จ.มหาสารคาม 4. สุภัทรชัย หันจรัส ศูนย์เรียนรู้ฟื้นฟูภูมิไท กาฬสินธุ์ ดำเนินการอภิปราย อาจารย์สมพงษ์ เอี่ยมวิริยาวัฒน์

สวัสดีครับ