ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Symbol ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ครูผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบเพิ่มแก้ไขข้อมูล หน่วยเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา.
Advertisements

Funny with Action Script
การใส่ลูกเล่นให้กับงานนำเสนอ
เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
แบบทดสอบวิชาคอมพิวเตอร์
ไมโครซอพต์ ออฟฟิศ เพาเวอร์พอยต์ Microsoft Office PowerPoint
Microsoft PowerPoint.
….E-Book สนุกสนาน…..
การแทรกหัวข้อย่อยและเลขลำดับ
การโต้ตอบแบบ Target Area
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
Project Management.
Microsoft Word XP โดย พิสมัย น้ำจันทร์.
ระบบอัตโนมัติและการพิมพ์
การกำหนด Section การใส่ Section Break ก็คือการกำหนดให้เอกสารแบ่งออกเป็นแต่ละ Section ดังนั้น คุณจึงสามารถกำหนดรูปแบบการจัดวางข้อความในแต่ละ Section ให้แตกต่างกัน.
การพิมพ์เอกสารออกทาง เครื่องพิมพ์. การตรวจเอกสารก่อนพิมพ์ด้วย Print Preview เราสามารถตรวจสอบความถูกต้องของ เอกสารก่อนสั่งพิมพ์โดยใช้คำสั่ง Print Preview.
ฟังก์ชันการแก้ไขข้อมูลประวัติกำลังพล จากคำสั่งเกี่ยวกับ ปรับย้าย
ฟังก์ชันการแก้ไขข้อมูลประวัติกำลังพล จากคำสั่งเกี่ยวกับ สูญเสีย
ขั้นตอนการแนะนำนักศึกษาในการ เข้าใช้งานระบบ LMS ด้วยโปรแกรม M OODLE.
การใช้งาน Microsoft Excel
การสร้างภาพเคลื่อนไหว
การติดตั้งไดว์เวอร์และงานปรับแต่งขั้นพื้นฐาน
บทที่ 9 การใส่รูปภาพ (Image).
การพิมพ์รายงาน / วิทยานิพนธ์
การสร้างสื่อนำเสนอด้วย PowerPoint
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
(Social Network for Education)
ลักษณะการจัดเก็บข้อมูลและขอบเขตข้อมูล
โปรแกรม DeskTopAuthor
การใส่ภาพลงบน Work Sheet...
รายงาน เรื่อง ที่ไม่มีข้อมูล ของ เสนอ อ. ภาณุมาศ ชาติทองเเดง จัดทําโดย
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
เรื่อง การจัดแต่งเอกสาร
วาดภาพสวยด้วย Paint.
การ Generate ตารางข้อมูลให้เป็นแผนที่โดยใช้ ArcView
บทที่ 9 การเตรียมตัวก่อนการนำเสนอ
บทที่ 8 การใส่ลูกเล่นในการนำเสนอ
การเพิ่มสไลด์แบบกราฟ Chart
การแทรกรูปภาพ บนเว็บเพจ.
การใช้โปรแกรม Captivate
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
เรื่อง การสร้างรายงาน
รูปจักกับซิมโบลและอินสแตนซ์ รูปจักกับซิมโบลและอินสแตนซ์
Symbol ชนิด Button Symbol ชนิด Button.
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Power Point
บทที่ 4 Power Point ขั้นตอนการทำสไลด์ รายละเอียดหน้าจอของ Power Point
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
ที่เมนู Start - All Programs - TURBO C++ V4.5 และ TURBO C++
Symbol & Instance.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างภาพเคลื่อนไหว
พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม Flash CS3
การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วย
การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพตอนที่ ๒ การเรียงภาพหลายภาพเป็นภาพ เดียวกัน ๑. เข้าใช้งานชุดคำสั่ง ADOBE PHOTOSHOP รุ่น ๕. ๕.
คู่มือการใช้งาน โปรแกรม STI.VCT 1.0
การสร้างบทความใน Joomla
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Layer
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร
สร้างและจัดการกับแผ่นสไลด์
เริ่มต้น Photoshop CS5.
มารู้จัก Layer กัน.
การใช้เครื่องมือ (Tool Box)
แทรกไฟล์มัลติมีเดียในสไลด์. การแทรกไฟล์เสียง แทรกเสียงจากไฟล์ 1. คลิกที่แท็บหน้าแรก เลือก สร้างภาพนิ่ง เลือก เค้าโครง ที่ชื่อว่า เฉพาะชื่อเรื่อง 2. คลิกแท็บ.
โรงเรียนขัติยะวงษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 27
1. เปิดเอกสาร Flash เลือกเมนู File -> New แล้วเลือก Flash File (ActionScript 2.0) 2. ไปที่เมนู Insert -> New Symbol 3. ที่หน้าต่าง Create New Symbol -
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับโปรแกรม
เทคนิคการใช้ โปรแกรมเพาเวอร์พอยต์
การเข้าทำงานของ สมาชิก ในการเพิ่มและแก้ไข ข้อมูลข่าวสาร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Symbol ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ครูผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร

ความหมายของ Symbol วัตถุที่ถูกแปลงสภาพ เพื่อพร้อมสร้าง Movie เกิดจากการ แปลงวัตถุต่างๆ โดยการ สร้างซิมโบล (Symbol) เปรียบเสมือนต้นแบบของชิ้นงาน สามารถนำไปใช้งานได้หลายครั้ง ตามที่ต้องการ Symbol คือ

ชนิดของ Symbol ซิมโบล (Symbol) แบ่งออกเป็น 3 ชนิด ดังนี้ 1. ซิมโบลแบบกราฟิก (Graphic Symbols) คือ ใช้สำหรับ สร้างภาพนิ่ง ไม่สามารถใส่เสียงได้ 2. ซิมโบลแบบปุ่ม (Button Symbols) คือ ใช้สำหรับสร้างปุ่มกด เพื่อตอบโต้ กับผู้ใช้โดยผ่านการคลิกเมาส์ สามารถใส่เสียง และ Action ได้ 3. ซิมโบลแบบมูฟวีคลิป (Movie clip Symbols) คือ ใช้สำหรับสร้าง ภาพเคลื่อนไหวแบบสั้นๆ โดยสามารถนำไปใช้ประกอบมูฟวีที่สร้างขึ้นได้ ตามจำนวนที่ต้องการ

การสร้างซิมโบล (Symbol) การสร้างซิมโบล (Symbol) มีขั้นตอน ดังนี้ 1. เลือกคำสั่ง Insert, New Symbol… 2. ปรากฏจอภาพ Create New Symbol 3. ตั้งชื่อ Symbol และเลือก Behavior จากนั้นคลิกปุ่ม OK ก็จะปรากฏ จอภาพสร้าง Symbol ที่มีหน้าตาคล้ายกับ Stage เกือบทุกอย่าง เพียงแต่จะมีสัญลักษณ์ + อยู่กึ่งกลางจอ เพื่อให้สะดวกต่อการวางตำแหน่ง หรือสร้างวัตถุ 4. เมื่อสร้างวัตถุให้กับ Symbol เรียบร้อยแล้วก็คลิกที่ Scene 1 เพื่อกลับสู่ สภาวะการทำงานปกติทักครั้ง

แก้ไข Symbol Symbol ที่สร้างไว้แล้ว สามารถ ปรับเปลี่ยนแก้ไขได้ โดย 1. เปิด Library Panel ดับเบิลคลิกที่ชื่อ Symbol ชิ้นที่ต้องการแก้ไข หรือ กรณีที่มี Instance ของ Symbol ปรากฏบน Stage ก็สามารถดับเบิลคลิกที่ Instance นั้นๆ ได้ทันที 2. ปรากฏหน้าต่างการทำงานในโหมดแก้ไข Symbol โดยสังเกตได้ว่า ตรงกลางจอภาพ มีสัญลักษณ์ + และปรากฏชื่อหน้าต่างเป็นชื่อ Symbol นั้นที่มุมบนซ้ายของ Stage 3. แก้ไข Symbol เหมือนกับการแก้ไขวัตถุปกติทั่วไป 4. เมื่อสร้างวัตถุให้กับ Symbol เรียบร้อยแล้วก็คลิกที่ Scene 1 เพื่อกลับสู่ สภาวะการทำงานปกติ

แบบฝึกทักษะ คำชี้แจง จงสร้างชิ้นงานคนละ 1 ชิ้นงาน โดยการสร้าง Symbol ทั้ง 3 ชนิด ตามคำสั่ง ดังนี้ 1. สร้าง Symbol แบบ Graphic Symbol 1 ชิ้น 2. สร้าง Symbol แบบ Button Symbol 1 ชิ้น 3. สร้าง Symbol แบบ Movie Clip Symbol ชิ้น