ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Advertisements

แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย อาจารย์กัมพล ติปิน วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
ศึกษาวิจัยการดำเนินงานโครงการลดจำนวนการออกกลางคันของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 นายไพศาล บุญประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานหรือการบ้าน ของนักศึกษาระดับ ปวส
นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
นางสาวนัทธ์หทัย ปัญเจริญ
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
การปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบในการทำงาน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย นาง นิภารัตน์ ทองโคตร กลุ่มวิชาพื้นฐาน
ชื่อเรื่อง การปรับพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาโดยใช้วิธีการเสริมแรงด้วยการให้คะแนนเพิ่มในรายวิชาการขายเบื้องต้น 2 ผู้วิจัย นายสุทธิวัฒน์ บุษบิล.
การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจต่อการเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
ผู้วิจัย นางสาวอาภรณ์ เทียนทอง สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ความวิตกอย่างหนึ่งของคนที่เป็นครู คือ อยากให้ลูกศิษย์ที่เรา กำลังสอนนั้น เกิดการเรียนรู้ การเรียนรู้ไม่ได้ หมายถึงการที่เขาตอบ คำถามที่เราถามได้เท่านั้น.
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
รายงานการวิจัย เรื่อง
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ด้วยวิธีทัศน ศึกษาแบบบูรณาการ รายวิชา งานห้องผ้าและ ซักรีด ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาการโรงแรม.
การพัฒนาพฤติกรรมการกล้าเสดงออก โดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติ ในรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 แผนกการตลาด.
การเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทำงานด้านทักษะวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต กรณีศึกษา กิจกรรม การแข่งขัน การจัดแสดงสินค้ากลางแจ้ง.
น.ส.ศุภวรรณ ภัทรคุปต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.
โดย นางสาวสารภี ศุระศรางค์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ผู้วิจัย นางกรุณา อุประดิษฐ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต การปรับพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาของนักศึกษา ระดับชั้น กต.101 และสกต.101 สาขาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต

ปัญหาการวิจัย ผู้สอนได้ทำการสอนในรายวิชา กิจกรรมชมรม ในภาคเรียนที่ 2/54 กลุ่มผู้เรียนได้แก่นักศึกษาระดับ ชั้น ปวส.ปีที่ 1 ห้อง กต.101 และสกต.101 สาขาการตลาด จำนวน 15 คน ปรากฎว่ามีนักศึกษากลุ่มที่เข้าเรียนสาย 15-30 นาที เป็นประจำ จำนวน 5 คน ซึ่งถือว่ามีจำนวนมาก หากไม่ดำเนินการแก้ไข จะทำให้นักศึกษากลุ่มนี้ไม่มีสิทธิ์สอบอย่างแน่นอน ผู้วิจัยซึ่งเป็นครูผู้สอน และอาจารย์ที่ปรึกษา จึงจำเป็นที่จะต้องหาแนวทางแก้ไขปัญหานี้โดยด่วนเพื่อทำการปรับพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนของผู้เรียนให้ตรงต่อเวลาด้วยวิธีการเสริมแรงทางบวก

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อปรับพฤติกรรมให้นักศึกษาเข้าชั้นเรียนตรงเวลามากขึ้น

ผังสรุปสำคัญ ประชากร และกลุ่มตัวอย่างประชากร นักศึกษาระดับชั้น ปวส. 1 สาขาการตลาด ที่เรียนในรายวิชา กิจกรรมชมรม ภาคเรียนที่ 2/24 จำนวน 15 คน กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาที่เข้าชั้นเรียนสายเป็นประจำ จำนวน 5 คน ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้น การเสริมแรงบวกด้วยการให้คะแนนเพิ่มพิเศษ ตัวแปรตาม พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การเก็บรวบรวมข้อมูล เก็บรวมรวมข้อมูลด้วยตนเองจากการบันทึกพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน เครื่องมือที่ใช้ แบบบันทึกพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน

ผังสรุปสำคัญ (ต่อ) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบบันทึกพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน โดยการเสริมแรงบวก ด้วยวิธีการนับจำนวนครั้งที่เข้าชั้นเรียนตรงเวลา แล้วเสริมแรงบวกด้วยการให้คะแนนเพิ่มพิเศษ ทำการหาค่าร้อยละ โดยกำหนดค่าของคะแนนออกเป็น 5 ช่วง ๆ ละ 2 คะแนน ดังนี้ เข้าเรียนตรงเวลา 5 ครั้ง อยู่ในระดับ ดีเยี่ยม 10 คะแนน เข้าเรียนตรงเวลา 4 ครั้ง อยู่ในระดับ ดี 8 คะแนน เข้าเรียนตรงเวลา 3 ครั้ง อยู่ในระดับ ปานกลาง 6 คะแนน เข้าเรียนตรงเวลา 2 ครั้ง อยู่ในระดับ น้อย 4 คะแนน 0 ครั้ง หมายถึง ไม่มาเรียน 0 คะแนน

สรุปผลการวิจัย การวิจัยเรื่อง การปรับพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาของนักศึกษา ระดับชั้น กต.101 และ สกต.101 วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต เพื่อปรับพฤติกรรมให้นักศึกษาเข้าชั้นเรียนตรงเวลามากขึ้น โดยวิธีการเสริมแรงบวกด้วยการให้คะแนนเพิ่มพิเศษ ดำเนินการโดย 1. สังเกตพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษาระดับชั้น กต.101 และ สกต.101 จำนวน 15 คน ใช้เวลา 5 สัปดาห์ พบว่า นักศึกษามีพฤติกรรมที่เข้าชั้นเรียนตรงเวลา จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 และนักศึกษามีพฤติกรรมที่เข้าชั้นเรียนไม่ตรงเวลา 2 ครั้งขึ้นไป จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 2. พูดคุยข้อตกลง และบันทึกพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนโดยวิธีการเสริมแรงทางบวก ด้วยการให้คะแนนทุกครั้งที่นักศึกษาสามารถเข้าชั้นเรียนได้ตรงเวลาครั้งละ 2 คะแนน รวมคะแนนเต็ม 10 คะแนนโดยใช้เวลา 5 สัปดาห์ พบว่า นักศึกษากลุ่มตัวอย่างจำนวน 5 คน เข้าชั้นเรียนตรงเวลาทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 100 ดังนั้นการเสริมแรงบวกด้วยวิธีการให้คะแนนเพิ่ม จึงเป็นวิธีที่สามารถแก้ปัญหาในเรื่องการเข้าเรียนไม่ตรงเวลาของนักศึกษาได้ดีอีกแนวทางหนึ่ง เพราะนักศึกษามีความพึงพอใจที่ได้รับคะแนนเป็นแรงเสริม ทำให้มีความกระตือรือร้นในการเข้าชั้นเรียนเร็วขึ้น เพื่อจะได้รางวัล หรือคำชมเชย จึงสามารถนำวิธีการนี้ไปใช้กับการปรับพฤติกรรมของนักเรียนคนอื่นๆ ได้ต่อไป

ขอบคุณครับ