นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สิ่งที่ทุกคนในองค์กรพึงตระหนัก และให้ความร่วมมืออย่างจริงจัง นโยบาย กรมฯ การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ แบบบูรณาการ การแสวงหาแนวร่วม จากภาคีเครือข่าย การบริหารทรัพยากร ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด การพึ่งพาตนเอง เพื่อเป็นที่พึ่งทางใจให้กับประชาชนในสังคมไทย 2
นโยบาย กรมสุขภาพจิต ประจำปี 2554 ด้านบริการ ด้านวิชาการ ด้านบริหาร นโยบาย กรมสุขภาพจิต ประจำปี 2554
นโยบายด้านบริการ 4
1.โรงพยาบาลจิตเวชทุกแห่ง ต้องยกระดับคุณภาพมาตรฐานของการบริการจิตเวชให้ผ่านเกณฑ์ HA (17 แห่ง) ตติยภูมิ (17 แห่ง) และ Excellence Center ( 3 แห่ง) 2.ทีมงานสุขภาพจิตในระดับพื้นที่ จะต้องมีความพร้อมช่วยเหลือ ในสถานการณ์ฉุกเฉิน และดำเนินงานส่งเสริม/ป้องกันในเชิงรุกอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มเสี่ยง 13 ล้านคน ( ทุกวัย ) โดยเฉพาะผู้ได้รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์ต่างๆ (การเมือง , ชายแดนใต้ , ภัยพิบัติ ฯ ) 3.หน่วยบริการจิตเวชและศูนย์สุขภาพจิต ทุกแห่งควรแสวงหาแหล่งทุนทั้งภายใน และต่างประเทศ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานสุขภาพจิต
นโยบายด้านวิชาการ 6
1. ศึกษา วิจัย และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ สุขภาพจิต โดยเน้นภูมิปัญญาท้องถิ่น และบูรณาการกับฝ่ายกาย เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยสามารถเข้าถึงได้โดยง่าย 2. ให้ทุกหน่วยงานรวบรวมผลการศึกษาวิจัยฯ รวมทั้งผลงานนวตกรรมใหม่ๆ ด้วยกระบวนการจัดการความรู้ ( KM ) และคัดเลือก /จัดเก็บไว้ในคลังความรู้ของหน่วยงาน โดยเชื่อมต่อกับคลังความรู้ของกรมสุขภาพจิตได้
3. รณรงค์และสื่อสารความรู้สุขภาพจิต ที่เป็นปัญหา หรือผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมของทุกกลุ่มวัย สู่สาธารณชนในวงกว้าง สำหรับนำไปใช้ดูแลตนเอง ครอบครัว และชุมชน 4. แสวงหาการสนับสนุนและความร่วมมือกับเครือข่ายองค์กรต่างประเทศ & พัฒนาหน่วยบริการ/หน่วยวิชาการให้เป็นแหล่งฝึกอบรมและศึกษาดูงานในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
นโยบายด้านบริหาร
1. เผยแพร่พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ. ศ 1. เผยแพร่พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551 ให้แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน เพื่อรักษาสิทธิประโยชน์ของผู้มีปัญหาสุขภาพจิต 2. พัฒนากรมสุขภาพจิตให้เป็นองค์กรต้นแบบด้านการบริหารจัดการองค์กรที่ดี เพื่อมุ่งสู่การได้รับรางวัล TQC 10
3. ให้ความสำคัญกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านสุขภาพจิตอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง รวมทั้งส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีความสุขในการปฏิบัติงาน 4. ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมฯ โดยใช้กลไกการบริหารเชิงนโยบาย รวมทั้งใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ( SRM ) เป็นเครื่องมือในการบูรณาการงานในระดับพื้นที่ &ร่วมกันยกระดับแผนยุทธศาสตร์สุขภาพจิตให้เป็นระดับชาติในช่วงแผนฯ 11 11
นโยบายสำคัญในการพัฒนาสุขภาพจิตในพื้นที่ IQ + EQ เด็กไทย : มีการประเมินและพัฒนารายจังหวัดราย จังหวัด เพื่อการเตรียมคนที่จะมาพัฒนาประเทศในอนาคต การประเมินและวิเคราะห์ความสุขของคนไทย เพื่อนำไปสู่การ พัฒนาสุขภาพจิตของประชาชนในแต่ละจังหวัด การใช้ประโยชน์จากข้อมูลด้านสุขภาพจิตและจิตเวช โดยเฉพาะ อัตราการฆ่าตัวตาย การประกวดหน่วยงานสาธารณสุขในสังกัดสำนักงาน ปลัดกระทรวง รวมถึง อปท. อย่างต่อเนื่อง 12
Thank You For Your Attention