การเขียนภาพพิคโทเรียล (Pictorial Drawing )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น อ.สุรัชน์ อินทสังข์ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
สื่อการเรียนเรขาคณิต
บทที่ 2 มาตรฐานการเขียนแบบ (The Convention of Drawing)
หัวข้อบรรยาย วก341 สรีรวิทยาของพืชและสัตว์ (ต่อ)
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
พื้นที่ผิวและปริมาตร
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
การศึกษารายกรณี.
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
อสมการ.
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 1
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
ระนาบอ้างอิงและวิวช่วย (Reference Plane and Auxiliary View)
Points, Lines and Planes
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 2
จุด เส้น และระนาบ จุดเจาะระหว่างเส้นกับระนาบ
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
บทที่ 5 การแทรกรูปภาพ และอักษรประดิษฐ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
เลนส์นูน.
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
สื่อการสอน : การทำรายการ 2 (3) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
หน่วยการวัดมุมเรียกว่า องศา เขียนสัญลักษณ์แทนด้วย “ ”
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multiview Projection )
สภาพแวดล้อมการทำงานคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ การบรรยายครั้งที่ 7
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.
การเขียนรูปทรงเรขาคณิต
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multi-view Projection)
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การสร้างแบบเสื้อและแขน
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
พีระมิด.
การเขียนแบบใช้งานเบื้องต้น(Working Drawing)
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
Week 6&7 ISOMETRIC DRAWING การเขียนภาพไอโซเมตริก.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
Module 2 คุณสมบัติทางกายภาพของวัสดุอาหาร
ไฮเพอร์โบลา (Hyperbola)
รูปทรงเรขาคณิต จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง ชั้น ม. 1/4 เลขที่ 14
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
Orthographic Projection week 4
หลักการเขียนโครงการ.
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
บรรยายครั้งที่ 5 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
บรรยายครั้งที่ 6 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
การเขียนภาพร่าง Free hand Sketching สัปดาห์ที่ 1-3 สัปดาห์ที่ 2.
การสเก็ตภาพสามมิติ(Three-Dimensional Pictorials )
การเขียนภาพพิคโทเรียล (Pictorial Drawing )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนภาพพิคโทเรียล (Pictorial Drawing ) สัปดาห์ที่ 9

เนื้อหาในสัปดาห์ที่ 9 1. Three dimension pictorial 2. Methods of Projection 3. Oblique Projection 4. Oblique Sketching 5. Axonometric Projection 6. Isometric Pictorial 7. Isometric Sketching 8. Isometric Ellipses 9. Isometric surface 10. Curve in Isometric 11. Counter Bore 12. Counter Sink

วัตถุประสงค์ในสัปดาห์ที่ 9 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจหลักการเบื้องต้นของการเขียนภาพ 3 มิติประเภทต่างๆ (ภาพพิคโทเรียล) เพื่อให้นักศึกษาสามารถเขียนและอ่านแบบภาพ 3 มิติ ทั้งแบบ Isometric และแบบ Oblique ได้ เพื่อให้นักศึกษาสามารถสเกตซ์ภาพ 3 มิติ ทั้งแบบ Isometric และแบบ Oblique ได้ เพื่อให้นักศึกษาสามารถเขียนวงกลมบนภาพ 3 มิติ แบบ Isometric เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจและสามารถเขียนพื้นผิวและเส้นโค้งต่างๆ บนภาพ 3 มิติ แบบ Isometric เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจสัญลักษณ์ของงานเจาะรูและการเขียน Counter bore และ Counter Sink ได้

Three-Dimensional Pictorials เป็นการเขียนภาพในลักษณะ 3 มิติ เพื่อให้ง่ายต่อการมองภาพรวมของชิ้นงาน สามารถเข้าใจองค์ประกอบและรายละเอียดต่างๆ ได้ชัดเจน เนื่องจากรวบรวมการแสดงภาพด้านต่างๆ ไว้ในภาพเดียวกัน

Three-Dimensional Pictorials นิยมใช้เขียนคู่กับภาพฉายตั้งฉาก(Orthographic) เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น ใช้เป็นแนวความคิดในการออกแบบเบื้องต้น ใช้ในการอธิบายรายละเอียดของวัตถุ เป็นภาษาในการสื่อสารของผู้เขียนแบบ

Methods of Projections

Methods of Projections Engineer Architect Go

One Point Perspective Projections

Two Point Perspective Projections BACK

Parallel Projections Oblique Projections Cavalier Projection BACK Oblique Projections Cavalier Projection Cabinet Projection Clinographic Projection (General)

Oblique Projections

CLINOGRAPHIC PROJECTION Oblique Projections Clinographic Projection(General) จะแสดงมิติทางความลึกอยู่ระหว่างครึ่งหนึ่งของขนาดจริงถึงขนาดเท่ากับขนาดจริง พิจารณาตามความเหมาะสมของขนาดชิ้นงาน เป็นที่นิยมใช้กันมากที่สุด CLINOGRAPHIC PROJECTION Cavalier Projection จะแสดงมิติทางความลึกเท่ากับขนาดจริงของวัตถุ ไม่นิยมใช้กับชิ้นงานที่มีความหนามาก เพราะจะทำให้มองเห็นมิติด้านความลึกมีค่ามากกว่าขนาดจริง Cabinet Projection จะแสดงมิติทางความลึกเท่ากับครึ่งหนึ่งของขนาดจริงวัตถุ ไม่นิยมใช้กับชิ้นงานที่มีความหนาน้อย เพราะจะทำให้มองเห็นมิติด้านความลึกมีค่าน้อยกว่าขนาดจริงมาก

Oblique Projections

Oblique Projections

OBLIQUE SKETCHING Step 1 Step 2 Step 3

OBLIQUE SKETCHING

Axonometric Projections Orthographic Projections BACK Axonometric Projections

Axonometric Projections Isometric

Axonometric Projections Isometric

Axonometric Projections Isometric

ISOMETRIC SKETCHING Step 1 Step 2 Step 3

ISOMETRIC SKETCHING การตัดกล่องสี่เหลี่ยม การกำหนดจุดและการพิจารณาชนิดของระนาบ ข้อสังเกต -จุดเชื่อมต่อ จะมี 3 เส้นเสมอ -ไม่นิยมเขียนเส้นที่ถูกบัง (เส้นประ)

ISOMETRIC SKETCHING

ISOMETRIC SKETCHING Example 1

ISOMETRIC SKETCHING Example 1

ISOMETRIC SKETCHING Example 1

ISOMETRIC SKETCHING Example 1

ISOMETRIC SKETCHING Example 2

ISOMETRIC SKETCHING Example 2

ISOMETRIC SKETCHING Example 2

ISOMETRIC SKETCHING Example 3

ขั้นที่ 1 วาดรูปกล่องสี่เหลี่ยมที่มีขนาดเท่ากับส่วนที่กว้าง ยาว และหนาที่สุดของชิ้นงาน 30 ๐ 30 ๐

ขั้นที่ 2 เริ่มพิจารณาจากด้านที่ถูกตัดออกไปมากที่สุด

ขั้นที่ 3 ลบเส้นที่ไม่เกี่ยวข้องทิ้งไปและทำการตรวจสอบภาพฉายอีก 2 ด้านว่ามีความถูกต้องครบถ้วนหรือไม่ ถ้ายังให้ทำตามขั้นที่ 2 โดยใช้ภาพฉายที่เหลืออีก 2 ด้านประกอบ

ข้อสังเกตของการสร้างงาน Pictorial ด้วยวิธีการตัดกล่อง 1. เริ่มพิจารณาด้านที่ถูกตัดออกไปมากที่สุด 2. จุดเชื่อมต้องมี 3 เส้นเสมอ ยกเว้นส่วนที่อยู่ด้านหลังที่ไม่เห็น 3. เส้นที่ขนานกัน จะต้องขนานกันในทุก ๆ ด้านเสมอ 4. จุดใด ๆ ที่แสดงทั้งด้านบนและด้านหน้าจะต้องตรงกันในแนวดิ่งเสมอ 5. จุดใด ๆ ที่แสดงทั้งด้านหน้าและด้านข้างขวาจะต้องตรงกันในแนวระดับเสมอ 6. ระยะห่างระหว่างจุดในมิติความลึกของด้านบนและด้านข้างจะต้องเท่ากันเสมอ

แบบฝึกหัด

แบบฝึกหัด

1. การวาดรูปวงรี (Isometric Ellipses) การเขียนรูปวงรีและส่วนโค้งบนระนาบต่าง ๆ 1. การวาดรูปวงรี (Isometric Ellipses) 2. การวาดส่วนโค้ง (Arcs in Isometric)

1. การวาดรูปวงรี (Isometric Ellipses)

1. การวาดรูปวงรี (Isometric Ellipses) =

1. การวาดรูปวงรี (Isometric Ellipses)

1. การวาดรูปวงรี (Isometric Ellipses)

1. การวาดรูปวงรี (Isometric Ellipses)

2. การวาดส่วนโค้ง (Arcs in Isometric)

2. การวาดส่วนโค้ง (Arcs in Isometric)

2. การวาดส่วนโค้ง (Arcs in Isometric)

2. การวาดส่วนโค้ง (Arcs in Isometric)

2. การวาดส่วนโค้ง (Arcs in Isometric)

2. การวาดส่วนโค้ง (Arcs in Isometric)

2. การวาดส่วนโค้ง (Arcs in Isometric)

2. การวาดส่วนโค้ง (Arcs in Isometric)

ISOMETRIC SKETCHING Inclined Surface

ISOMETRIC SKETCHING Oblique Surface

ISOMETRIC SKETCHING

ISOMETRIC SKETCHING

ISOMETRIC SKETCHING

ISOMETRIC SKETCHING

ISOMETRIC SKETCHING Curve in isometric

งานเจาะรู Counter Bore

งานเจาะรู Counter sink THRU

ด้วยตนเองและทบทวนบทเรียนผ่าน e-learning จบสัปดาห์ที่ 9 อย่าลืมทำการบ้าน ด้วยตนเองและทบทวนบทเรียนผ่าน e-learning