บทที่ 5 การบันทึกบัญชีแยกประเภท

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวอย่างหน้าจอการทำรายการผ่านตู้ ATM
Advertisements

หน้าจอตู้ ATM ธนาคารกรุงไทย
การบันทึกสินทรัพย์ถาวร
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ 4 สมุดบันทึกรายการขั้นต้น
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
บทที่ 3 เอกสารทางการบัญชี
วิธีการบันทึกรายการในระบบ GFMIS ผ่าน Web Online สำหรับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น.

การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
การบันทึกรายการปรับปรุง
สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal)
หลักการบัญชีคู่ (Double-Entry Accounting)
สรุปใบงาน วิชา ระบบสารสนเทศทางการบัญชี บช. 342
การวิเคราะห์รายการค้า และหลักการบันทึกบัญชี
การเรียกข้อมูลในระบบ SAP R/3 ผ่านเครื่อง GFMIS Terminal
การปฏิบัติเกี่ยวกับบัญชีเกณฑ์คงค้าง
การบันทึกบัญชีงานระหว่างก่อสร้าง
บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ
บทที่ 4 งบการเงิน.
การร่วมค้า (Joint Venture)
ระบบบัญชีเดี่ยว.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
ระบบบัญชี.
การตรวจสอบด้านการเงิน
การบันทึกรายการสินทรัพย์
การบัญชี 2 เงินสด (ต่อ).
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พัฒนาการอำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร
การฝึกอบรม โครงการ GFMIS-สคร. ผังบัญชีและความถี่ในการส่งข้อมูล
โดย... นางจันทร์เพ็ญ หงษ์อินทร์
การบริหารงานการเงินของสถานศึกษา
แบบการตรวจสอบการบริหารการเงินบัญชี
รายงานระบบบัญชีแยกประเภท(GL)
หน่วยที่ 4 รายการปรับปรุงและงบทดลอง หลังรายการปรับปรุง
Web Report.
แผนผังทางเดินเอกสาร - ระบบบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ
เรื่อง ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินเดือนและค่าแรง
สินค้าคงเหลือ.
บัญชีแยกประเภทและผังบัญชี
สมุดบันทึกรายการขั้นต้น
หน่วยที่ 5 ระบบใบสำคัญ ลักษณะของใบสำคัญจ่าย วิธีการของระบบใบสำคัญ
หน่วยที่ 4 รายการปิดบัญชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม
ลักษณะของระบบบัญชี.
งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
บทที่ 6 การปิดบัญชี การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป
การบันทึกรายการในสมุดบัญชีแยกประเภท
การนำเสนอการ์ตูนบัญชี
การเบิกจ่ายเงินรางวัล ประจำปีงบประมาณ 2555
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
ระบบการเรียกเก็บหนี้
แนวทางการยกเลิกการจัดทำ บัญชีตามเกณฑ์คงค้างด้วยมือ
ค้นเจอหนังสือที่ต้องการ ใน library catalog
บทที่ 9 เรื่อง งบการเงิน
หน่วยที่ 3 เรื่อง การวิเคราะห์รายการค้า
คู่มือการเรียกรายงานสินทรัพย์
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
การบันทึกบัญชีและการจัดทำรายงานการเงิน
>>0 >>1 >> 2 >> 3 >> 4 >> เมนูแผนของบประมาณ แสดงวิธีการบันทึกข้อมูลหน้าระบบทีละขั้นตอน ข้อพิจารณา : ผู้สร้างต้องมีข้อมูล ดังนี้ - แผนปฏิบัติราชการ หรือโครงการภายใต้แผนปฏิบัติ
บทที่ 3 การวิเคราะห์รายการค้า.
การดำเนินการ ของส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ ในระบบ GFMIS
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
การอบรมเชิงปฏิบัติการ
จัดทำโดย นายวิทวัสชัย คำยะ นายธนวัฒน์ น้อยมหาพรม
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
สำนักงานตรวจสอบภายใน วันที่ 21 มกราคม 2558
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 5 การบันทึกบัญชีแยกประเภท สวัสดีครับ วันนี้เรามาอธิบายเรื่อง การแยกการบันทึกบัญชี

เอ้...แล้วมันเป็นยังไงจ๊ะ

ก็คือ..การแยกการบันทึกบัญชีแยกประเภท มีอยู่ 4 หัวข้อย่อยด้วยกัน

มี..... 1. ความหมายความสำคัญและประเภทของบัญชีแยกประเภท 2. รูปแบบบัญชีแยกประเภท 3. การผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภททั่วไป สุดท้ายก็ ศัพท์บัญชี ใช่มัย...คะ

ถูกต้องนะคราบ......งันเรามายกตัวอย่างอันแรกกันดีกว่า ความหมายความสำคัญและประเภทของบัญชีแยกประเภท เฮ้ วัยรุ่น..อธิบายหน่อยสิ

บัญชีแยกประเภท หมายถึง บัญชีรวบรวมรายการค้าไว้เป็นหมวดหมู่ โดยแยกเป็นบัญชี ๆ ไป จะจัดเรียงลำดับตามผังบัญชีของกิจการ เช่น บัญชีเงินสด บัญชีเงินฝากธนาคาร บัญชีรายได้ค่าบริการ บัญชีเงินเดือน

ส่วน ความสำคัญของบัญชีแยกประเภท เมื่อเรามีรายการค้าเกิดขึ้น จะทำให้สินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของกิจการเปลี่ยนแปลง

ก็คือต้องแยกออกเป็นหมวดหมู่ นะสิค่ะ

ถูกแล้วครับ สรุปคือ ความสำคัญของบัญชีแยกประเภท 1. จำแนกรายการค้าเป็นหมวดหมู่ 2. ค้นหาข้อมูลได้ง่าย 3. สะดวกในการหายอดคงเหลือ 4. สะดวกในการจัดทำงบ/รายงานต่างๆ 5. ใช้เป็นหลักฐานในการอ้างอิง

ส่วน ประเภทของบัญชีแยกประเภท แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. บัญชีประเภทสินทรัพย์ (Asset) 2. บัญชีประเภทหนี้สิน (Liability) 3. บัญชีประเภทส่วนของเจ้าของ (Owner’s equity)

เรามาเข้าหัวข้อต่อไปเลยครับ รูปแบบบัญชีแยกประเภท เป็นบัญชีที่ใช้บันทึกรายการที่มีลักษณะเหมือนกันไว้ด้วยกัน รูปแบบขอบัญชีแยกประเภทมี 2 รูปแบบคือ

บัญชีแยกประเภททั่วไป (General Ledger) เป็นบัญชีแยกประเภทแบบ 2 ช่องมีลักษณะเหมือนตัว Tจึงนิยมเรียกว่าแบบตัว T (T Account)

ตัวอย่าง

2. บัญชีแยกประเภทย่อย (Subsidiary Ledger) เป็นบัญชีแยกแบบ3 ช่อง บันทึกรายการที่ต้องการทราบยอดคงเกลือทุกขณะ เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการทำงาน รูปแบบจะเป็นดังนี้ คือ

ดิฉันขอคุยเรื่อง การผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภททั่วไป บ้างนะคะ

การผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภททั่วไป หลังจากที่บันทึกรายการค้าในสมุดบันทึกรายการขั้นต้น ซึ่งในที่นี้คือสมุดรายวันทั่วไปแล้ว ขั้นต่อไปคือ ผ่านรายการจากสมุดรายวันทั่วไป ไปยังบัญชีแยกประเภททั่วไป

ขอเสนอ..ขั้นที่หนึ่ง ให้พิจารณาบัญชีที่บันทึกในสมุดรายวันทั่วไป โดยดูว่าได้เดบิตและเครดิตบัญชีอะไรบ้าง

ตัวอย่างเช่น

สวดยอดไปเลยลูกเพ่.... ส่วนที่2 เปิดบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวข้องซึ่งในที่นี้มี 2 บัญชี คือ บัญชีเงินสด และบัญชีทุน ที่ยกตัวอย่างมาจากข้อที่ 1 แต่ปกติกิจการจะต้องเปิดบัญชีตามผังบัญชี ไว้แล้วดังนี้

ส่วนข้อ 3 คือ ผ่านให้พิจารณาจากสมุดรายงายวันทั่วไป โดยมีขั้นตอนดังนี้ เติมวัน เดือน ปี ในช่องที่กำหนด บันทึกรายการที่บัญชีเงินสดด้านเดบิต บันทึกรายการที่บัญชีที่บันทึกทุน อ้างอิงเลขหน้าของสมุดรายวันทั่วไป

จัดทำโดย นาย ณัฐพงษ์ สุจิต เลขที่ 13 น.ส. เจนจิรา เคนเหลื่อม เลขที่ 21 นาย ณัฐพงษ์ สุจิต เลขที่ 13 น.ส. เจนจิรา เคนเหลื่อม เลขที่ 21 น.ส. สุไลญา อินทโชติ เลขที่ 36 น.ส. ปาลิตา ประเสริฐศรี เลขที่ 37 น.ส. กุลธิดา บุญประโคน เลขที่ 51