แนวทางเข้าถึงแหล่งเงินทุน เพื่อการส่งออก
กลยุทธ์การบริหารทางการเงิน หาแหล่งเงินทุนที่มีต้นทุนต่ำ บริหารเงินทุนหมุนเวียนให้มีสภาพคล่อง จัดสรรเงินทุนให้เหมาะสมและถูกต้อง บริหารสินค้าคงเหลือให้มีประสิทธิภาพ บริหารลูกหนี้ให้มีประสิทธิภาพ การบริหารความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น 2
Cost of Project 3
ปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ ความสามารถในการจ่ายหนี้ 6 C’s สำหรับการเตรียมความพร้อมเข้าถึงแหล่งเงิน Country ปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ Capacity ความสามารถในการจ่ายหนี้ Collateral หลักทรัพย์ค้ำประกัน Character ลักษณะผู้กู้ Capital เงินทุนส่วนออกเอง Condition เงื่อนไขการกู้เงิน 4
การพิจารณาสินเชื่อของธนาคาร บุคคล CHARACTER คุณสมบัติของผู้กู้ CHARACTER โครงการ PROJECT ความสามารถในการหารายได้ CAPACITY ฐานะการเงิน CAPITAL สภาพแวดล้อม CONDITION ประเทศคู่ค้า COUNTRY หลักประกัน COLLATERALS หลักประกัน 5
ลูกค้าที่ธนาคารอยากปล่อยสินเชื่อ - ไม่เป็น NPL - Credit Bureau - มีงบการเงินที่ดี - กำไรสุทธิ / กำไรสะสม - ทุนจดทะเบียน - อัตราส่วนหนี้ต่อทุน (D/E Ratio) - อัตราการเติบโตของยอดขาย - มีวัตถุประสงค์การกู้เงินที่ชัดเจน 6
ลูกค้าที่ธนาคารอยากปล่อยสินเชื่อ (ต่อ) - มี Statement ที่ดี - มีเงินเข้าบัญชีครอบคลุมตัวเลขรายได้ทั้งหมด - มีที่มาที่ไปของค่าใช้จ่ายชัดเจน - เงินคงเหลือในบัญชีไม่ควรน้อยกว่าค่างวดหนึ่งเดือน มีประวัติการชำระเงินที่ดี * จ่ายครบถ้วนตามเงื่อนไข * จ่ายตรงตามกำหนด อยู่ในธุรกิจที่มีแนวโน้มการเติบโตดี มีหลักทรัพย์ที่เสนอเป็นหลักประกันคุ้มค่า 7
ประเภทของสินเชื่อ 1. สินเชื่อกู้ยืมระยะยาว (Long Term Debt) ซื้อที่ดิน/ก่อสร้างอาคาร, สิ่งปลูกสร้าง, ซื้อเครื่องจักร อาจเป็น Housing loan ควบคู่กับ loan ทั่วไป 2. สินเชื่อสำหรับใช้หมุนเวียน / กู้ระยะสั้น (Working Capital) O/D , P/N , S/T , CBD (ขายลดเช็ค) 3. สินเชื่อเพื่อการออกหนังสือค้ำประกัน (Letters of Guarantees) 4. สินเชื่อเพื่อการส่งออก 8
สินเชื่อเพื่อการส่งออก โดยปกติธนาคารจะเสนอวงเงินสินเชื่อสำหรับผู้ส่งออก โดยให้ผู้ส่งออกการนำเอกสารมายื่นประกอบการขอกู้กับธนาคาร แบ่งออกเป็นสองประเภท การให้สินเชื่อก่อนการส่งออก (Pre-Shipment) เอกสารประกอบการขอทำ Packing Credit เช่น L/C หรือสัญญาซื้อขายหรือคำสั่งซื้อสินค้าจากต่างประเทศ หรือใบรับรองคลังสินค้า หรือใบรับจำนำสินค้า การให้สินเชื่อหลังการส่งออก (Post-Shipment) เอกสารประกอบการขอกู้ ได้แก่ Bill of Exchange ผู้ส่งออกและ/หรือผู้ผลิตสินค้าอุตสาหกรรม เพื่อการส่งออกจะออกตั๋วสัญญาใช้เงินและสัญญาจะใช้เงิน ให้ไว้กับธนาคาร จำนวนเงิน และระยะเวลาในการขอสินเชื่อเป็นไปตามเอกสารประกอบ แต่สูงสุดไม่เกิน 180 วัน 9
ประเด็นที่ต้องพิจารณาในการขอสินเชื่อ 1. วงเงินสินเชื่อที่ได้รับจากธนาคาร จำนวนเพียงพอ ประเภทของวงเงินสินเชื่อมีความเหมาะสม (L/T, W/C, L/G) 2. อัตราดอกเบี้ย ให้พิจารณา อัตราดอกเบี้ยสุทธิที่ได้รับอนุมัติ อัตราดอกเบี้ยอ้างอิง (MLR, MOR, MRR) *อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงต่างสถาบันการเงินกันไม่จำเป็นต้องเท่ากัน Spread (ส่วนบวก / ส่วนต่าง) ระยะเวลาที่ให้อัตราดอกเบี้ย * ในกรณี L/G หรือ L/C จะมีค่าใช้จ่ายเป็นค่าธรรมเนียม 10
ประเด็นที่ต้องพิจารณาในการขอสินเชื่อ (ต่อ) 3. ระยะเวลาที่ให้เงินกู้ - วงเงินกู้ระยะยาว ระยะเวลาการจ่ายชำระหนี้ (3, 5, 7, 10,15 ปี) ระยะเวลาปลอดการจ่ายชำระเงินต้น (Grace Period) - วงเงินกู้เงินทุนหมุนเวียน ระยะเวลาการให้สินเชื่อในวงเงินแต่ละประเภท 11
ประเด็นที่ต้องพิจารณาในการขอสินเชื่อ (ต่อ) 4. ค่าใช้จ่ายต่างๆในการขอสินเชื่อ - ค่าธรรมเนียมการจัดหาเงินกู้ (Front End Fee) ปกติ 0.5%-2% - ค่าประเมินหลักทรัพย์ - ค่าใช้จ่ายในการจำนอง (1%) - ค่าใช้จ่าย (ค่าปรับ) ในการย้ายธนาคาร (Penalty Fee) - ค่าธรรมเนียมค้ำประกันของ บสย. (1.75%) 12
ประเด็นที่ต้องพิจารณาในการขอสินเชื่อ (ต่อ) 5. หลักทรัพย์ที่นำมาเป็นหลักประกัน - ที่ดิน (ต้องมีทางเข้าออกและติดทางสาธารณะประโยชน์) - สิ่งปลูกสร้าง (ที่มีใบอนุญาตก่อสร้าง) - ห้องชุดอาคาร - เครื่องจักรอุปกรณ์ (ที่มีการจดทะเบียนและจำนองเป็นหลักประกัน) - เงินฝาก / พันธบัตร - สิทธิการรับเงินค่างวดงานตามสัญญาจ้าง - สิทธิการเช่าที่ดินที่จดทะเบียนเช่าและโอนสิทธิการเช่าให้ทางธนาคาร - ตราสารทางการค้า : เช็คการค้า / ตั๋วแลกเงิน - สินค้าคงคลัง (ธุรกิจค้าส่งพืชไร่ : ข้าว, ข้าวโพด) -หนังสือค้ำประกันบสย. 13
ใครบ้างที่เราช่วยเหลือ การพิจารณาสินเชื่อของธนาคาร ขั้นตอนการติดต่อ บสย. คืออะไร ใครบ้างที่เราช่วยเหลือ การพิจารณาสินเชื่อของธนาคาร ขั้นตอนการติดต่อ 14
“พระราชบัญญัติบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม พ.ศ. 2534” บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) เป็นสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง จัดตั้งขึ้นเมื่อ 30 ธ.ค. 34 ตาม “พระราชบัญญัติบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม พ.ศ. 2534” โครงสร้างผู้ถือหุ้น ทุนจดทะเบียน ณ.มิ.ย. 2555 เท่ากับ 6,702.47 ล้านบาท กระทรวงการคลัง (95.49%) ธนาคารพาณิชย์ (2.6%) ธนาคารออมสิน (0.94%) ธนาคารกรุงไทย (0.62%) ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (0.18%) กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (0.18%) 15
แนวคิดในการช่วยเหลือให้ SMEs กู้เงินจากสถาบันการเงินได้ ง่าย ถูก 16
อัตราดอกเบี้ย (% ต่อปี) ระดับความเสี่ยงของ SMEs แต่ละราย บสย. เร่งกระจายสินเชื่อให้ SMEs ส่งผลให้การพัฒนา SMEs และการจ้างงาน บรรลุเป้าหมายตามนโยบายรัฐบาล SMEs ไม่มีหลักประกันทำให้ได้รับสินเชื่อไม่พอกับความต้องการ อัตราดอกเบี้ยที่แหล่งเงินกู้นอกระบบเก็บจากลูกค้า อัตราดอกเบี้ย (% ต่อปี) 20 อัตราดอกเบี้ยที่สถาบันการเงินเก็บจากลูกค้า + ค่าค้ำประกันเงินกู้ 15 10 อัตราดอกเบี้ยที่สถาบันการเงินเรียกเก็บจากลูกค้า 5 LOW ระดับความเสี่ยงของ SMEs แต่ละราย MEDIUM HIGH 17
ตัวอย่างการค้ำประกัน SMEs ต้องการกู้ 1 ล้านบาท มีหลักประกัน 6 แสนบาท ขาดหลักประกัน 4 แสนบาท บสย. ค้ำประกัน 4 แสนบาท ค่าธรรมเนียม 400,000 * 1.75 % = 7,000 บาท / ปี *กรณีนี้ค่าธรรมเนียม/เงินกู้ 1 ล้านบาท = 0.7% 18
การช่วยเหลือ SMEs ที่ผ่านมา 19
โครงการค้ำประกันสินเชื่อของ บสย. ผู้ประกอบการใหม่ PGS Start-up ผู้ประกอบการทั่วไป PGS5 ปรับปรุงประสิทธิภาพPGS PIL 20
ผลิตภัณฑ์การค้ำประกันสินเชื่อของ บสย. ที่สนับสนุน SMEs ปี 2556 – 2558 PGS 5 วงเงิน 240,000 ล้านบาท PGS PIL วงเงิน 20,000 ล้านบาท PGS Start up วงเงิน 10,000 ล้านบาท ผู้ประกอบการใหม่ อายุกิจการไม่เกิน 3 ปี ผ่านการฝึกอบรมหรืออยู่ระหว่างการอบรมจากหน่วยงานที่ บสย. เห็นชอบ วงเงินไม่เกิน 2 ล้านบาท/ราย/สถาบัน ค่าธรรมเนียม 2.5% ต่อปี (ปีแรกรัฐบาลชำระค่าธรรมเนียมให้) ผู้ประกอบการทั่วไป วงเงินไม่เกิน 40 ล้านบาท/ราย/สถาบัน ค่าธรรมเนียม 1.75% ต่อปี ปรับปรุงประสิทธิภาพ ผู้ประกอบการทั่วไปที่ต้องการปรับปรุงประสิทธิภาพ วงเงินไม่เกิน 5 ล้านบาท/ราย ค่าธรรมเนียม 1.75% ต่อปี (ปีแรกรัฐบาลชำระค่าธรรมเนียมให้) 21
ผู้ประกอบการใหม่ (PGS Start-up) ประกอบกิจการไม่เกิน 3 ปี วงเงินค้ำประกัน 10,000 ล้านบาท (2 ล้านบาท ต่อราย ต่อสถาบันการเงิน) ค่าธรรมเนียม 2.50 % ต่อปี ของวงเงินค้ำประกัน (Free ค่าธรรมเนียมปีแรก) ระยะเวลาค้ำประกันสูงสุด 7 ปี สิ้นสุดโครงการวันที่ 31 ธ.ค. 58 ผ่านการอบรม หรืออยู่ระหว่างการฝึกอบรม หลักสูตรการบริหารจัดการธุรกิจ เช่น การจัดการ, การตลาด, การบัญชี และการผลิต จากกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือหน่วยงานอื่นที่ บสย. เห็นชอบ 22
ผู้ประกอบการทั่วไป (PGS 5) ผู้ประกอบการทั่วไปที่หลักประกันไม่พอ วงเงินค้ำประกัน 240,000 ล้านบาท (40 ล้านบาท ต่อราย ต่อสถาบันการเงิน) ค่าธรรมเนียม 1.75 % ต่อปี ของวงเงินค้ำประกัน ระยะเวลาค้ำประกันสูงสุด 7 ปี สิ้นสุดโครงการวันที่ 31 ธ.ค. 58 คุณสมบัติ เป็นบุคคลธรรมดา หรือ นิติบุคคล สัญชาติไทย ทรัพย์สินถาวรสุทธิไม่เกิน 200 ล้านบาท (ไม่รวมที่ดิน) จุดเด่น ดำเนินธุรกิจต่างประเทศได้ 23
ปรับปรุงประสิทธิภาพPGS PIL ผู้ประกอบการทั่วไปที่ต้องการปรับปรุงเครื่องจักรและกระบวนการการผลิต วงเงินค้ำประกัน 20,000 ล้านบาท (5 ล้านบาท ต่อราย ต่อสถาบันการเงิน) ค่าธรรมเนียม 1.75 % ต่อปี ของวงเงินค้ำประกัน (Free ค่าธรรมเนียมปีแรก) ระยะเวลาค้ำประกันสูงสุด 7 ปี - เครื่องจักร 7 ปี - กระบวนการทำงาน 5 ปี สิ้นสุดโครงการวันที่ 31 ธ.ค. 58 24
โครงการค้ำประกันสินเชื่อของ บสย. PGS Start-up PGS5 PGS PIL วงเงินโครงการ 10,000 ล้านบาท 240,000 ล้านบาท 20,000 ล้านบาท กลุ่มเป้าหมาย SMEs ที่เริ่มกิจการใหม่ และมีอายุกิจการไม่เกิน 3 ปี SMEs ทั่วไป เพื่อช่วยเหลือ SMEs ที่ต้องการปรับปรุงเครื่องจักรและกระบวนการผลิต วงเงินค้ำประกัน/ราย/สถาบันการเงิน ไม่เกิน 2 ล้านบาท ไม่เกิน 40 ล้านบาท ไม่เกิน 5 ล้านบาท ค่าธรรมเนียมการค้ำประกัน /ปี 2.5% (ปีแรกรัฐบาลชำระค่าธรรมให้) 1.75% 1.75% (ปีแรกรัฐบาลชำระค่าธรรมให้) เงื่อนไขโครงการ อายุกิจการไม่เกิน 3 ปี ผ่านการฝึกอบรมหรืออยู่ระหว่างการดำเนินการเพื่อเข้าร่วมการฝึกอบรมหลักสูตรการบริหารจัดการธุรกิจ (หลักสูตรต้องมีเนื้อหาวิชาครอบคลุม 4 เรื่อง ประกอบด้วย การจัดการ การตลาด การบัญชี และการผลิต) - SMEs ต้องมีการปรับปรุงเครื่องจักร หรือกระบวนการทำงาน ผ่านเงื่อนไขการให้สินเชื่อโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาผลิตภาพการผลิต (Productivity Improvement Loan) ของ ธพว. วันสิ้นสุดโครงการ 31-ธ.ค.-58 31-ธ.ค.58 ธนาคารที่เข้าร่วมโครงการ ทุกธนาคารที่ร่วมลงนาม MOU โครงการเฉพาะ SMEs Bank 25
ขั้นตอนการติดต่อ 1.ยื่นคำขอสินเชื่อ 2.ยื่นคำขอค้ำประกัน 3.ให้หนังสือค้ำประกัน 4.ให้สินเชื่อ 26
Bangkok and Greater Bangkok ติดต่อ บสย. Call center 02-8909999 สำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ : 0-2890-9988 สำนักงานสาขากรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ : 0-2890-9988 ต่อ 9761-4 สำนักงานสาขาพระนครศรีอยุธยา โทรศัพท์ : 0-2890-9988 ต่อ 9765, 9768-9 สำนักงานสาขาเชียงใหม่ โทรศัพท์ : 0-5330-4057, 0-5330-4757-8 สำนักงานสาขาพิษณุโลก โทรศัพท์ : 0-5524-4353-4 สำนักงานสาขาอุดรธานี โทรศัพท์ : 0-4234-1969-70 สำนักงานสาขานครราชสีมา โทรศัพท์ : 0-4420-3604 สำนักงานสาขาชลบุรี โทรศัพท์ : 0-3878-3951 สำนักงานสาขาสุราษฎร์ธานี โทรศัพท์ : 0-7721-9801-2 สำนักงานสาขาสงขลา โทรศัพท์ :0-7426-2551-2 Chiang Mai Phitsanulok UdonThani Nakhon Ratchasima Chonburi Ayutthaya Suratthani Songkhla Bangkok and Greater Bangkok http://www.tcg.or.th/main 27