QA ready ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา 16 มกราคม 2556 เวลา 13:40-13:50.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
Advertisements

คณะกรรมการประกันคุณภาพฯ วจ
แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
การบัญชีสำหรับกิจการ
การจัดทำรายงานประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
เอกสารเคมี Chemistry Literature
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชา ตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.5 ศักยภาพของระบบฐานข้อมูล เพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน 1. จุดอ่อน ของคณะฯ 1.1 ยังไม่มี SERVERS เป็นของคณะฯเอง.
หน่วยส่งเสริมและพัฒนาทางวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ของวิชา การรู้สารสนเทศInformation Literacy
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
แนะนำบริการสนับสนุนการวิจัย (Researcher Service Support)
อาจารย์ ดร. พีรศักดิ์ สิริโยธิน คณบดีสำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
ระบบข้อสอบออนไลน์.
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
Management Information Systems
พิธีเปิด การจัดกิจกรรม KM DAY ของ อล. ทร
รายงานผลทางวาจา การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบัน มหาวิทยาลัยพายัพ วันที่ 5-7 กันยายน 2551.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
CHE QA ONLINE ประชุมชี้แจงการปรับปรุงและ การใช้ระบบฐานข้อมูลด้านการ ประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา 28 ก. ค
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
จิตวิทยา ในชีวิตประจำวัน.
หน่วยการเรียนที่ 5 แหล่งสารสนเทศ.
ชื่อตัวบ่งชี้ 3.3 : มีการนำความรู้และประสบการณ์ จากการบริการวิชาการและ วิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการ สอนและการวิจัย ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน คณะฯ ยังขาดการรวบรวม.
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชาตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
หมวดที่ 5 การวัดผลและการประเมิน
นางสาวธันยกานต์ สินปรุ
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
การติดตามผลการดำเนินงาน UC/TDC/Reference Database
กรณีความเสี่ยง DMSc.
กระบวนการประกันคุณภาพ ภาควิชาการพยาบาลพื้นฐาน
การบริหารสำนักงาน ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
นางสาวณัฏฐณิชา โพธิ์งาม
คณะกรรมการประกันคุณภาพฯ วจ.
KM-QA งานประกันคุณภาพการศึกษา ขอนำเสนอ สาระสำคัญของ
การค้นคว้าข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต
การบริหารวิชาการและการเรียนการสอน
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมี ความสำคัญที่สุด ดังนั้นในการจัดการ เรียนรู้และการดูแลช่วยเหลือพัฒนาผู้เรียนที่
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร (Information Technology for Communication) อาจารย์สราวุฒิ จบศรี คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารช่วยให้การทำงานถูกต้อง และแม่นยำ จัดทำโดย ด. ช. นพฤทธิ์ มายอง เลขที่ 21 ด. ช. พชร อำพนพันธุ์ เลขที่ 23.
ทัศนคติของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส
การจัดทำเว็บไซต์ เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษา เขตภาคกลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติ ไทย วันพฤหัสบดีที่ 24 กุมภาพันธ์ 2554 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นางมลิวรรณ สมบุญโสด ผู้วิจัย
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
สรุปภารกิจของฝ่ายสารสนเทศ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผศ. ดร. พีรพงษ์ บุญสวัสดิ์กุลชัย.
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
โดย นายสมชาย เจือจาน โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา การวิเคราะห์ ออกแบบระบบ ปวส.2/2และปวส.2/2 พิเศษสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา.
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
ความพึงพอใจต่อการมาใช้บริการห้องสมุด
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้การสืบเสาะหา ความรู้แบบนำทาง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

QA ready ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา 16 มกราคม 2556 เวลา 13:40-13:50

โอกาสพัฒนา : องค์ประกอบที่ 1  ขาดแผน ระบบสารสนเทศ

แนวทางแก้ไข  มีแผนการพัฒนาโครงสร้างเทคโนโลยีสารสนเทศให้ รองรับทุกพันธกิจอย่างมีประสิทธิภาพ ( เอกสาร 5) ได้แก่ 1. โครงการจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์และ อุปกรณ์ประกอบ ทดแทนของเดิมที่หมดสภาพเนื่องจากใช้ งาน > 5 ปี 2. โครงการจัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ประจำห้องสมุด ภาควิชาฯ 3. โครงการพัฒนา website ของภาควิชาฯ 4. มีการเพิ่ม internet wifi access ที่ OPD เพื่อให้นักศึกษา แพทย์ / แพทย์เฉพาะทาง ได้สืบค้นหาความรู้เพิ่มเติม

โอกาสพัฒนา : องค์ประกอบที่ 2  1. ควรมีการสัมมนาเพื่อเพิ่มตำแหน่งทางวิชาการ ให้แก่คณาจารย์  2. ควรนำผลการประเมินการใช้ห้องเรียน เช่น ความสว่างและความคับแคบของห้องมาทำ แผนปรับปรุง  3. การจัดบริการเครื่องคอมพิวเตอร์แก่ นักศึกษา แพทย์ให้เพียงพอ

แนวทางแก้ไข  1. ทางคณะแพทย์มีการจัดประชาพิจารณ์เรื่องการ เข้าสู่ตำแหน่งวิชาการไปแล้ว ขณะนี้กำลัง ดำเนินงานในการปรับเปลี่ยนข้อกำหนดเพื่อเสนอ ต่อสภามหาวิทยาลัย  2. มีการเปิดใช้ห้องสอนนักศึกษาที่ ward ใหม่ สำหรับการสอน teaching round/ward work ซึ่ง เริ่มใช้มาตั้งแต่กลางปี 55  3. ขณะนี้โครงการจัดหาระบบสารสนเทศเพื่อ การศึกษา ซึ่งเป็นยุทธศาตร์ระดับคณะ ( เอกสาร 6)

โอกาสพัฒนา : องค์ประกอบที่ 5  ควรมีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการกับการ เรียนการสอนและวิจัย

แนวทางแก้ไข  มีการนำ 2%xylocaine with adrenaline มาใช้ แทน Cocaine ในการ pack จมูกก่อนการส่องกล้อง โดยได้นำมาศึกษาเป็นงานวิจัย ซึ่งตีพิมพ์ในวชิร เวชสารแล้ว และนำมาใช้สอนนักศึกษาแพทย์ปี 5 ในหัวข้อ nasal packing( เอกสาร 4)

โอกาสพัฒนา : องค์ประกอบที่ 7  1. ควรมีการบันทึกความรู้ (KM) เช่น การจัด morning conference, mortality conference และจัดเก็บให้เป็นระบบเพื่อใช้ในการค้นคว้า อ้างอิง สำหรับแพทย์ประจำบ้าน / อาจารย์  2. ควรมีการวิเคราะห์ความเสี่ยงในด้านอื่น ๆ นอกเหนือความเสี่ยงด้านการศึกษาและรายงาน ในคณะกรรมการบริหารภาควิชา เช่น ความเสี่ยง ทางด้านคลินิก ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงานของ นักศึกษาแพทย์

แนวทางแก้ไข  1. มีการบันทึกความรู้ที่ได้จากกิจกรรม journal club ทุกสัปดาห์ ( เอาสาร 1 และ 2) ซึ่งได้เริ่มเก็บ รวบรวมตั้งแต่ กค 55  2. มีการประเมินความความเสี่ยงทางการ ปฏิบัติงานโดยมีการเริ่มใช้แบบประเมินการตรง ต่อเวลาของนักศึกษาแพทย์ ( เอกสาร 3)

ตอบคำถาม ???