การระดมความคิดกลุ่ม เขียนแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ 1. แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการที่ได้เลือก จากแผนที่ใหญ่ โดยมีความสำคัญเร่งด่วน ใช้ เวลาสั้น ประหยัด และสามารถเกิดความสำเร็จ ได้ในเวลาที่กำหนดได้ ( เช่น ไม่เกิน 2 ปี ) 2. การเลือกเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ สำคัญ จากแผนที่ใหญ่ โดยเน้นในการต่อ ยอด / ได้รับการยอมรับจากผู้บริหารสูงสุดของ CEO ในการปฏิบัติ
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ 1. จากแผนที่ยุทธศาสตร์หลัก ผอ. กต. จว. แต่ละจังหวัดจะพัฒนา แผนที่เฉพาะส่วนของตนเรียกว่าแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับ ปฏิบัติการ (Strategic Linkage Model - SLM) โดยใช้ กระบวนการเดียวกันลงไปจนถึงการตั้งเป้าหมายและเครื่องชี้วัด ปฏิบัติการ (Performance Target & Indicator) 2. พิจารณาเป้าประสงค์พร้อมกลยุทธ์ในแต่ละ ระดับว่ามีกิจกรรมสำคัญอะไรที่จะต้องปฏิบัติ ภายในปี 2555 ( มีความสำคัญเร่งด่วน ใช้เวลา สั้น ประหยัด และสามารถ เกิดความสำเร็จได้ใน เวลาที่กำหนด ) เพื่อบรรลุจุดหมายปลายทางที่กำหนดและ จะเกิดผลลัพธ์สำคัญอะไร
3. พิจารณาเลือกทางเดินที่สำคัญที่สุดที่จะทำให้ไปถึง จุดหมายปลายทางที่สะดวกรวดเร็วที่สุด เสียค่าใช้จ่าย น้อยที่สุด ภายในเวลาสั้นที่สุด ( มีจำนวนน้อยกว่าแผนที่ หลัก เท่าที่จำเป็นใช้ในช่วงเวลาที่กำหนด ) 4. ในช่วงเวลานี้ สามารถปรับแผนที่ฉบับ ปฏิบัติการได้ ถ้าการดำเนินงานส่อเค้าว่างานจะไม่เป็นไปตามแผน 5. การใช้ประโยชน์ของแผนที่ยุทธศาสตร์ จะกระทำที่ แผนที่ฉบับนี้ จะทำให้การพัฒนาเป็นไปในทิศทาง เดียวกัน ทุกฝ่ายทราบว่าจะร่วมมือเรื่องอะไร กับใคร ได้เมื่อใด การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ
SLM จะมีประโยชน์สูงสุด ต่อเมื่อสามารถ ก่อให้เกิดการเสริมพลัง (Synergistic Effect) ระหว่างแผนงานขององค์กรที่ หลากหลายทุกภาคส่วน ภายใต้แผนฯร่วม ที่มีทิศทางไปสู่จุดมุ่งหมายเดียวกัน กล่าวอีกนัยหนึ่ง คือการทำให้ผลรวมมี มูลค่าสูงกว่าผลลัพธ์ย่อยๆของแต่ละ องค์ประกอบรวมกัน หรือทำให้ = 4
สัมมนา แลกเปลี่ยน ขยายผลจัดทำ คู่มือ, แนวทางการ ดำเนินงาน กิจกรรมตัวอย่างที่ นำเสนอ นวัตกรรมการพัฒนา ประยุกต์ใช้ และแปลงแผนที่ยุทธศาสตร์สู่ การปฏิบัติ คู่มือ เครื่องมือ และ CD
ภารกิจของ ผอ. ทถ. ในฐานะพลเมือง ๑.ผู้ให้ ให้ความรู้ ความเข้าใจวิถีชีวิต ประชาธิปไตย และประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการ เลือกตั้ง และประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการ เลือกตั้ง แนะนำผู้ที่ไม่ ได้ใช้สิทธิเลือกตั้งให้แจ้งเหตุจำเป็นที่ ไม่อาจไปใช้สิทธิ และผลเสียถ้าไม่แจ้งเหตุ ๒. ผู้นำนโยบายแปลงสู่การปฏิบัติ นำ กกต. ทถ. รณรงค์ เชิญชวนคนไปใช้สิทธิในการเลือกตั้ง เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสารที่ทันสมัยให้ทราบทันที
๔. ผู้ประสานงาน ประสานงานกับเครือข่ายทุกภาคส่วน สร้างความเข้าใจระหว่าง กกต. จังหวัด กกต. ท้องถิ่นกับภาคพลเมือง ๓. ผู้ปฏิบัติงาน ในช่วงระยะเวลาการเลือกตั้งทำหน้าที่ ในฐานะ จพง. ๕. ผู้นำการเปลี่ยนแปลง เสียสละ อุทิศตนมีจิตอาสา ประพฤติตนเป็นตัวอย่างในความ สุจริต โปร่งใสบริสุทธิ์ ยุติธรรม
สอบถาม - แลกเปลี่ยน