ชื่อเรื่อง. ผลของการพัฒนาความรับผิดชอบของนักเรียนกลุ่มอ่อน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
พิชิตโครงงานวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Proprietary and Confidential © Astadia, Inc. | 1.
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทาน
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
สำนักวิชาการและแผนงาน
งานวินัยและความประพฤติ
การดำเนินการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET)
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
การทำผลงานวิชาการ สงวนลิขสิทธิ์.....โดย ดร.สุรชาติ สังข์รุ่ง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
หลักการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ - เพื่อพัฒนาผู้เรียนและตัดสิน ผลการเรียน - สอดคล้องครอบคลุมมาตรฐานการ เรียนรู้ / ตัวชี้วัด - ดำเนินการหลากหลายวิธี เหมาะสมกับสิ่งวัด.
การลงข้อมูลแผนการสอน

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
เพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมนุม
การประชุม ผู้ปกครองนักเรียน ชั้น ม.1 ปีการศึกษา 2557
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ตกลง บริการ ประเมิน ปัญหา หา แนวทาง แก้ไข ติดตาม ประเมินผล Self Assessmemt ---> ประเมิน ความรู้, พฤติกรรมสุขภาพ ----> ก้างปลาปัญหา ----> Recall อาหาร 24.
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การประชุม ผู้ปกครองนักเรียน ชั้น ม.2 ปีการศึกษา 2557
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
งานวิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.ปีที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือกลุ่มกัลยาณมิตร.
นางสาวทัศนา จันทะเรือง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน
ขั้นตอนการยื่นขอตรวจคุณสมบัติฯ ทาง INTERNET
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
แผนการจัดการเรียนรู้
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
พรชัย กิจเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง
นางสาวกุลวีณ์ เกษมสุข ผู้วิจัย
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย.
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
ผู้วิจัย นางวราภรณ์ ทะนัน โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
โครงการจัดทำฐานข้อมูลผ่านเว็บไซต์
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางชลิตา บุญวันท์ การฝึกทักษะการพิมพ์ด้วยการใช้โปรแกรม เกมคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1.
อาจารย์ชรินทร ชะเอมเทส
โดย นางสาวสารภี ศุระศรางค์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อเรื่อง. ผลของการพัฒนาความรับผิดชอบของนักเรียนกลุ่มอ่อน ชื่อเรื่อง ผลของการพัฒนาความรับผิดชอบของนักเรียนกลุ่มอ่อน โดยใช้ความร่วมมือจากผู้ปกครอง รายวิชา พลังงานและ สิ่งแวดล้อม วิทยาลัยเทคโนโลยีสุราษฎร์ธานี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ชื่อผู้วิจัย นางสาวอรนุช บุญประเสริฐ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสุราษฎร์ธานี

สภาพปัญหา ในรายวิชา พลังงานและสิ่งแวดล้อม มีนักเรียนจำนวน 28 คน ที่มีคะแนนเก็บกลางภาคเรียนต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด คือ ร้อยละ 60 ของคะแนนเก็บ เมื่อมาพิจารณาถึงพฤติกรรมของนักเรียนกลุ่มดังกล่าว มีพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ขาดความรับผิดชอบ ทำงานส่งไม่ตรงเวลา จึงต้องใช้กระบวนการวิจัยมาแก้ปัญหา โดยการสร้างความร่วมมือจากผู้ปกครอง

วัตถุประสงค์การวิจัย 1 วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อสร้างความเคยชินในการทำงาน ที่มีการดูแลติดตามจากผู้ปกครอง 2. เพื่อปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบในการทำงานส่งให้ตรงเวลาของนักเรียน ในรายวิชาพลังงานและสิ่งแวดล้อม

ตารางที่ 1 แบบบันทึกพฤติกรรมความรับผิดชอบในการทำงานส่งรายวิชา พลังงานและสิ่งแวดล้อม จำนวน 28 คน ลำดับที่ งาน/เวลา หมายเหตุ งานที่ 6 งานที่ 7 งานที่ 8 งานที่ 9 งานที่ 10 สัปดาห์ ที่ 1 20 – 24 ม.ค. 57 สัปดาห์ ที่ 2 27 – 31 ม.ค. 57 สัปดาห์ ที่ 3 3 – 7 ก.พ. 57 สัปดาห์ ที่ 4 10 – 14 ก.พ. 57 สัปดาห์ ที่ 5 17 – 21 ก.พ. 57 จ. อ. พ. พฤ. ศ. 1 / 2 3 4 5 6 7 8 15 9 21 10 11 12 13 14

เครื่องหมาย / = มีการทำงานส่ง กำหนดส่งงาน ทุกวันจันทร์ของสัปดาห์ ลำดับที่ งาน/เวลา หมายเหตุ งานที่ 6 งานที่ 7 งานที่ 8 งานที่ 9 งานที่ 10 สัปดาห์ ที่ 1 20 – 24 ม.ค. 57 สัปดาห์ ที่ 2 27 – 31 ม.ค. 57 สัปดาห์ ที่ 3 3 – 7 ก.พ. 57 สัปดาห์ ที่ 4 10 – 14 ก.พ. 57 สัปดาห์ ที่ 5 17 – 21 ก.พ. 57 จ. อ. พ. พฤ. ศ. 15 / 7 16 17 5 18 3 19 4 20 12 21 22 23 24 25 26 27 28 8 เครื่องหมาย / = มีการทำงานส่ง กำหนดส่งงาน ทุกวันจันทร์ของสัปดาห์ ช่องหมายเหตุ = จำนวนที่มีการติดต่อกับผู้ปกครอง

ตารางที่ 2 แสดงจำนวนร้อยละผลของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมความรับผิดชอบ ตารางที่ 2 แสดงจำนวนร้อยละผลของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมความรับผิดชอบ ในการทำงานส่งของนักเรียนกลุ่มอ่อน รายวิชา พลังงานและสิ่งแวดล้อม จำนวน 28 คน พฤติกรรม งาน/เวลา งานที่ 6 งานที่ 7 งานที่ 8 งานที่ 9 งานที่ 10 สัปดาห์ ที่ 1 20 – 24 ม.ค. 57 สัปดาห์ ที่ 2 27 – 31 ม.ค. 57 สัปดาห์ ที่ 3 3 – 7 ก.พ. 57 สัปดาห์ ที่ 4 10 – 14 ก.พ. 57 สัปดาห์ ที่ 5 17 – 21 ก.พ. 57 ร้อยละ (ทำงานส่งตรงเวลา) 10.71 28.57 46.43 60.71 ร้อยละ (ทำงานส่งไม่ตรงเวลา) 89.29 67.86 50 32.15 ร้อยละ (ไม่ส่งงาน) - 3.57 7.14 รวม 100

ตารางที่ 3 แสดงผลการเรียนจากการพัฒนาความรับผิดชอบในการทำงาน ตารางที่ 3 แสดงผลการเรียนจากการพัฒนาความรับผิดชอบในการทำงาน ของนักเรียนกลุ่มอ่อน โดยใช้ความร่วมมือจากผู้ปกครอง รายวิชา พลังงานและสิ่งแวดล้อม จำนวน 28 คน เลขที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 ผลการเรียน 2.5 1.5 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28

ผลของการพัฒนาความรับผิดชอบ ตารางที่ 4 แสดงจำนวนร้อยละผลของการพัฒนาความรับผิดชอบของนักเรียนกลุ่มอ่อน โดยใช้ความร่วมมือจากผู้ปกครอง รายวิชา พลังงานและสิ่งแวดล้อม จำนวน 28 คน ผลของการพัฒนาความรับผิดชอบ ( เกรดตั้งแต่ 2.5 ขึ้นไป ) จำนวนนักเรียน (คน) ร้อยละ ผ่านเกณฑ์ประเมิน 20 71.43 ไม่ผ่านเกณฑ์ประเมิน 8 28.57 รวม 28 100

สรุปผลการวิจัย ผลของการพัฒนาความรับผิดชอบโดยใช้ความร่วมมือจากผู้ปกครอง พบว่า 1. ผลของการติดตามพฤติกรรม นักเรียนมีความรับผิดชอบในการทำงานส่งตรงเวลา จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 60.71 2. ผลการใช้ความร่วมมือจากผู้ปกครอง สามารถพัฒนาความรับผิดชอบ ให้เกิดขึ้นกับนักเรียนได้ เนื่องจาก ผลการเรียนของนักเรียนกลุ่มอ่อน ที่ผ่านเกณฑ์ประเมิน ( ตั้งแต่เกรด 2.5 ขึ้นไป ) จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 71.43 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่วางไว้ แสดงว่าสามารถใช้ความร่วมมือจากผู้ปกครอง ในการพัฒนา ความรับผิดชอบของนักเรียนกลุ่มอ่อนได้