ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส 2101-2103.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
Advertisements

การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา

คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
นางสาวสุภัทรา สุขวัฒนา วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ศึกษาการใช้สื่อ CAI ในการเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อ ส่งเสริมแรงจูงใจ ต่อการเรียนวิชา ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปีที่
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การศึกษากิจกรรมพิเศษเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจต่อการเรียน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชา ความแข็งแรงของวัสดุ เรื่อง การคำนวณหาค่าความเค้นและความเครียดของวัสดุ โดยการใช้ชุดฝึกปฏิบัติของนักศึกษาระดับประกาศ-
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง พัฒนาการสอนแบบสาธิตร่วมกับการลงมือปฏิบัติเรื่อง การตะไบผิวเรียบเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อาจารย์ ว่าที่ ร.ต. ศุภกร.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้เรียนชั้นปวช.1
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผู้วิจัย จุฬารัตน์ มหาชัย
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
เรื่องระบบจำนวน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
รายงานการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการใช้เวอร์เนียร์ไฮเกจ ร่างแบบชิ้นงานโดยใช้ชุดฝึกทักษะ วิชางานฝึกฝีมือ ของนักเรียนช่างไฟฟ้า สาขางานไฟฟ้ากำลัง ชั้นปีที่
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส 2101-2103 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช. ปีที่ 2 สาขาวิชางานยานยนต์ ชื่อผู้วิจัย นายสุรศักดิ์ สืบภู่ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก บ้านโป่ง จ. ราชบุรี

ปัญหาการวิจัย  จากการจัดการเรียนการสอนที่ผ่านมาพบว่าผู้เรียนวิชางานเครื่องยนต์เล็กของสาขาวิชางานเครื่องยนต์ที่ผู้วิจัยสอนอยู่นี้มีอุปสรรคการอธิบายการทำงาน และการบำรุงรักษาชิ้นส่วนเครื่องยนต์เล็ก ทำให้ประสิทธิภาพการเข้าใจบทเรียนไม่ดีพอ  ผู้วิจัยได้ศึกษาสื่อการสอนภาพสามมิติจากสำนักพัฒนาเทคนิคศึกษาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ(2547:1-40) พบว่าน่าจะนำมาประยุกต์ใช้เป็นสื่อแบบฝึกทักษะให้ผู้เรียนได้ จึงได้ทำวิจัยการใช้สื่อชุดนี้ให้สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้วิชางานเครื่องยนต์เล็ก

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระหว่างก่อนเรียน และหลังเรียนจากการใช้ แบบฝึกทักษะ วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัสวิชา 2101 – 2103 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม ระดับ ปวช.ปีที่ 2 สาขาวิชางานยานยนต์

กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรต้น แบบฝึกทักษะภาพสามมิติ ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเครื่องยนต์เล็ก

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้น ปวช.2/1-2/2 วิทยาลัยเทคโนโลนีดอนบอสโก บ้านโป่ง สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชน เขตการศึกษา 5 จังหวัดราชบุรี จำนวน 47 คน

เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เป็นแบบทดสอบที่ครูสร้างขึ้นมีลักษณะเป็นแบบทดสอบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จำนวน 2 ชุดๆละ 20 ข้อ ครอบคลุมเนื้อหาสาระตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในแผนการเรียนรู้ ครูผู้สอนได้ตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบ ได้แก่ ตรวจสอบความตรง ความเป็นปรนัย ความเชื่อมั่น อำนาจจำแนก และความยากง่าย

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้ใช้ค่าสถิติดังนี้ ค่าสถิติสำหรับการทดสอบสมมติฐานการวิจัย ค่าเฉลี่ย( )ใช้ในการวิเคราะห์ระดับคะแนนเฉลี่ยของกลุ่ม ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ใช้ในการวิเคราะห์การกระจายของคะแนน ค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย (C.V.) ใช้ตรวจสอบประสิทธิภาพการสอน ค่า t-test (Dependent) ใช้ในการทดสอบความแตกต่างของคะแนนก่อน เรียนและหลังเรียน 2. ค่าสถิติสำหรับการตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ค่า IC ใช้ตรวจสอบความตรงและความเป็นปรนัยของแบบทดสอบ ค่า r (วิธีสอบซ้ำ Test – retest) ใช้ตรวจสอบค่าความเชื่อมั่น ค่า p และค่า r ใช้ตรวจสอบอำนาจจำแนกและความยากง่าย

การประเมินผล N D D2 t-test ก่อนเรียน-หลัง เรียน 47 -431 4841 การเปรียบเทียบความแตกต่างของการทดสอบก่อนการเรียนและหลังเรียนวิชางานเครื่องยนต์เล็ก (2101-2103) ของนักเรียนชั้นปวช. 2/1 - 2/2 สาขาวิชางานยานยนต์ เรื่องการบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก การประเมินผล N D D2 t-test ก่อนเรียน-หลัง เรียน 47 -431 4841 14.677 ** **ค่านัยสัมคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1

สรุปผลการวิจัย พบว่าเมื่อตรวจสอบความแตกต่างของคะแนนการทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียนด้วย t-test พบค่า t = 14.677 ซึ่งมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 จึงกล่าวได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่เชื่อมั่นได้ถึง 99 % ซึ่งยอมรับสมมติฐานที่ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นปวช.2/1-2/2 สาขางานยานยนต์ วิชางานเครื่องยนต์เล็ก(2101-2103)ที่เรียนด้วยวิธีการสอนตามความคาดหวังของนักเรียนมีความแตกต่างกัน ผลของการวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่า สื่อแผ่นใส3มิติและวิธีการสอนตามความคาดหวังของนักเรียนช่วยให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงขึ้นกว่าก่อนเรียน