แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการบันทึกข้อมูลเวชระเบียน การให้บริการสุขภาพช่องปาก
Advertisements

หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
การบันทึก เวชระเบียน.
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
การดำเนินการปรับปรุงระบบสารสนเทศ - ๑
การประชุมคณะกรรมการประจำคณะฯ ครั้งที่ 9/2551 วันพฤหัสบดีที่ 21 สิงหาคม 2551 เวลา น. ณ ห้องประชุม 801 อาคารเรียนรวมราชนครินทร์
การประชุมผู้ประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2556 ครั้งที่ 1/2556 วันที่ 18 ตุลาคม
ความยินยอมที่ได้รับการบอกกล่าว
HA คืออะไร วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
หลักการและเหตุผล แผนกลยุทธ์และแผนงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธ์ศาสตร์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ปี เป็นแผนที่จัดทำขึ้นจากการมีส่วนร่วมของคณะทำงานซึ่งเป็นผู้แทนของหน่วยงานในสังกัดกรมฯทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค.
พ.ศ ลำดับการดำเนินงานในจังหวัดขอนแก่น คณะทำงานชี้แจงในที่ประชุม
โรงพยาบาลขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการโรงพยาบาล
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ (Diseases & Health Hazard Surveillance )
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานและการสนับสนุนส่วนภูมิภาค ประจำปี 2550 แนวทางการดำเนินงานและการสนับสนุนส่วนภูมิภาค กรมการแพทย์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กลไกการสนับสนุนการ ดำเนินงาน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ตำบล และ การพัฒนาระบบรับ - ส่งต่อแบบ บูรณาการ 2552.
สรุปการประชุม เขต 10.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
เป้าหมาย สตรีอายุ ปี 240,279 ผลงาน 65,541 (27.28 %) ผิดปกติ/ ส่งต่อ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
คู่มือการดูแลทางจิตเวช เพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
อัตราความสมบูรณ์เวชระเบียนผู้ป่วยใน ไม่น้อยกว่า 80%
การปรับตัว ของธุรกิจขายยา
ชนิดของมะเร็งของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี และพฤติกรรมการบริโภคของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์อุบลราชธานี อาจารย์รัตนา เล็กสมบูรณ์ สัดส่วนการทำงาน.
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
เรื่อง หลักการปฏิบัติตนในการใช้บริการ ทางการแพทย์และสาธารณสุข
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 งบสนับสนุนส่งเสริมการจัดบริการ สำหรับผู้ป่วยจิตเวช.
ภัทรา อเนกวิทยากิจ สำนักตรวจสอบการชดเชยและคุณภาพบริการ (สตช.)
คู่มือการบันทึกข้อมูล 7 แฟ้ม กลุ่มข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
บริการพยาบาลด้วยใจ ให้เข้าถึงสิทธิ ไม่ผิดกฎหมาย
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
ประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2556 “เพิ่มประสิทธิภาพหลักประกันสุขภาพไทย” ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2555 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการ.
Health Referral System for Care of People with Diabetics foot
การให้คำปรึกษาด้านยาแก่ผู้ป่วยนอก
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
คุณค่าคนทำงาน คือการทำงานให้มี คุณภาพ ตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการทั้งภายนอกและ ภายในตามมาตรฐานวิชาชีพ เป้าหมายของการทำงาน คือ การ ให้บริการที่มี
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง การ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่าง อื่นซึ่งรุนแรงหรือเรื้อรัง พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง ลักษณะการประสบอันตรายหรือ เจ็บป่วยที่คณะกรรมการการแพทย์ จะ พิจารณาให้นายจ้างจ่ายค่ารักษาพยาบาล.
การประเมินบุคคลและผลงานเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งนายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรม สาขา )
ALIVE NURSING RECORD ดร. วันทนา ถิ่นกาญจน์ สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์
การพยาบาลเฉพาะทาง สาขา การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็ง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก ประไพ วัฒนไกร สำนักตรวจสอบการชดเชยและคุณภาพบริการ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

Medical records

ร้อยละของคุณภาพการบันทึกเวชระเบียนผู้ป่วยนอกของรพ. 4 แห่ง สถานการณ์ปี 2552 ร้อยละของคุณภาพการบันทึกเวชระเบียนผู้ป่วยนอกของรพ. 4 แห่ง

จุดเน้น..ของคุณภาพเวชระเบียนผู้ป่วยนอก กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง การบันทึกเวชระเบียน มาตรฐานโรงพยาบาลคุณภาพ (HA) สปสช. สภาวิชาชีพ แพทยสภา/สภาการพยาบาล หลักฐานทางกฎหมาย วัตถุประสงค์เพื่อที่จะให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ได้รับการทบทวนประวัติการเจ็บป่วยที่สำคัญอย่างน้อยปีละครั้ง *

แนวทางในการบันทึกเวชระเบียนผู้ป่วยสำหรับแพทย์ การบันทึกข้อมูลทางคลินิกของผู้ป่วย เป็นความรับผิดชอบของแพทย์ผู้ดูแลรักษาผู้ป่วย ซึ่งจะต้องทำการบันทึกข้อมูลนี้ด้วยตนเองหรือกำกับตรวจสอบให้มีการบันทึกที่ถูกต้อง 1.ผู้ป่วยนอก ข้อมูลผู้ป่วยที่พึงปรากฏในเวชระเบียน ได้แก่ 1.1 อาการสำคัญและประวัติการเจ็บป่วยที่สำคัญ 1.2 ประวัติการแพ้ยา สารเคมี หรือสารอื่น ๆ 1.3 บันทึกสัญญาณชีพ (Vital Signs) 1.4 ผลการตรวจร่างกายผู้ป่วยที่ผิดปกติ หรือที่มีความสำคัญต่อการวินิจฉัย หรือการให้การรักษาแก่ผู้ป่วย 1.5 ปัญหาของผู้ป่วย หรือการวินิจฉัยโรค หรือการแยกโรค 1.6 การสั่งการรักษาพยาบาล รวมตลอดถึงชนิดของยาและจำนวน

แนวทางในการบันทึกเวชระเบียนผู้ป่วยสำหรับแพทย์ การบันทึกข้อมูลทางคลินิกของผู้ป่วย เป็นความรับผิดชอบของแพทย์ผู้ดูแลรักษาผู้ป่วยซึ่งจะต้องทำการบันทึกข้อมูลนี้ด้วยตนเองหรือกำกับตรวจสอบให้มีการบันทึกที่ถูกต้อง 1.7 ในกรณีมีการทำหัตถการ ควรมี ก. บันทึกเหตุผล ความจำเป็นของการทำหัตถการ ข. ใบยินยอมของผู้ป่วยหรือผู้แทน ภายหลังที่ได้รับทราบและเข้าใจ ถึงขั้นตอน ผลดีและอาการแทรกซ้อนที่อาจเกิดจากการทำหัตถการ 1.8 คำแนะนำอื่น ๆ ที่ให้แก่ผู้ป่วย

การดำเนินงาน จัดทำแบบตรวจและแนวทางการตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียนผู้ป่วยนอก (2552) ประชาพิจารณ์โดยแพทย์ พยาบาล และผู้เกี่ยวข้องจากหน่วยบริการทั่วประเทศมาร่วมให้ความเห็น และสรุปแนวทางฯ โดยความเห็นชอบจาก สรพ. (สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)) เผยแพร่หนังสือแก่หน่วยบริการทั่วประเทศ จำนวน 5,000 เล่ม (พิมพ์ครั้งที่ 2 อีก 5,000 เล่ม) นำแนวทางการตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียนผู้ป่วยนอกสู่ระบบ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาระบบ โดยการสร้างผู้ตรวจสอบระดับเขต (ครูก.) ทั่วประเทศในปีงบประมาณ 2554

ผู้ตรวจประเมินฯ ระดับเขต (ครู ก.) บทบาทที่คาดหวัง พัฒนาระบบตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน ในระดับจังหวัด เป็นผู้ตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน ระดับเขต มีส่วนร่วมในการพัฒนาผู้ตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน ในระดับจังหวัด (พัฒนาครูข.) เป็นแกนนำในการพัฒนาระบบการบันทึกตรวจและประเมินคุณภาพเวชระเบียนผู้ป่วยนอก/ผู้ป่วยใน พัฒนาระบบตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน ในระดับหน่วยบริการ

ข้อมูลผู้ป่วย (Patient profiles) ประวัติการเจ็บป่วย (History) การตรวจร่างกาย (Physical examination) การรักษา/การตรวจเพื่อวินิจฉัย (Treatment/Investigation) การตรวจติดตาม (Follow up) บันทึกการผ่าตัด/หัตถการ (Operative note) บันทึกการรับทราบและยินยอมรับการรักษา/ทำหัตถการ (Informed consent)