เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
Advertisements

สรุปผลการประชุม สถานะสุขภาพ
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ศูนย์อนามัยที่๔ ราชบุรี
ส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียน มีนาคม - มิถุนายน 2549
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ยุทธศาสตร์ที่ 2: ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น นำ KM ไปใช้ 1. ระดับศูนย์เขต 1.1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เสริมสร้างศักยภาพ ชมรมเด็กไทยทำได้ วันที่
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ปีงบประมาณ 2553
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ไอโอดีนมีอยู่ทุกที่ ดูให้ดี กินให้เป็น
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
กำหนดการปฐมนิเทศโครงการเท่ห์กินผัก น่ารักกินผลไม้
นิยาม Policy: ทิศทางของการกระทำที่ชัดเจนที่ได้ชี้นำและกำหนดการตัดสินใจ
ที่มาของโครงการ ตลอดเวลา 21 ปีที่ผ่านมาทีมงาน " รัก ลูก " ได้ดำเนินงานด้านการให้ความรู้ในเรื่อง ของครอบครัวผ่านสื่อและกิจกรรมในรูปแบบ ต่างๆ แต่ด้วยที่การดำเนินงานส่วนใหญ่ยัง.
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
ส่งเสริมสัญจร.
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นักโภชนาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
พัฒนาองค์กรไร้พุง มุ่งสู่ความยั่งยืน
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
โภชนบัญญัติ สู่การปฏิบัติเพื่อโภชนาการที่ดี
โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอ่อนหวาน
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
องค์ประกอบที่4การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อสุขภาพ
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
จุดประกายการพัฒนาศักยภาพโรงเรียนเด็กไทยแก้มสและบนบาทของทีมวิทยากรระดับเขต วันที่ 5 มกราคม 2557 โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท โดย สง่า ดามาพงษ์
นโยบายองค์การบริหารส่วนตำบลศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เรื่อง การสร้างสุขภาพประชาชน ในเขต อบต. ศิลา “ คนศิลากินดี อยู่ดี สุขภาพแข็งแรง ไม่มี ภาวะอ้วนลงพุง.
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
แผนงาน พัฒนาศักยภาพเครือข่าย เพื่อการขับเคลื่อนงาน อาหารและโภชนาการเชิง รุก โดย นายสง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ 9 กรมอนามัย.
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ โดย อาจารย์สง่า ดามาพงษ์ B.Sci,MCN. นักวิชาการเชี่ยวชาญโภชนาการ ผู้จัดการศูนย์ประสานงานโภชนาการสมวัย ที่ปรึกษากิติศักดิ์สมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย

ปัญหาโภชนาการในเด็กไทย สรุป ปัญหาโภชนาการในเด็กไทย ปล่อยไว้ ประเทศไทยหายนะ

เด็กอ้วนพุ่งเต็มประเทศ ปัญหาใหญ่ เด็กขาดสารอาหาร ยังไม่หมด เด็กอ้วนพุ่งเต็มประเทศ

คนไทยมีคุณภาพชีวิตต่ำ ผลกระทบ เด็กผอม IQ ต่ำ จน เด็กอ้วน ผู้ใหญ่อ้วน โรค คนไทยมีคุณภาพชีวิตต่ำ ทำให้ชาติไม่เจริญ

ทำไมเด็กไทย กินไม่เป็น อย่าโทษเด็ก ผู้ใหญ่ใจดี ต้องมีความรับผิดชอบ

เด็กไทย .... ขาดภูมิคุ้มกันทางปัญญา ตัดสินใจกินอาหารตามความรู้สึก คาดไม่ถึงว่า ผลการกินไม่เป็น จะวกกลับมาทำลายชีวิตตัวเอง

ความจริงของเด็กไทย ... ไม่ได้กินอาหารเช้า กินอาหารเช้าที่ขาดคุณภาพ / ไม่พอ กินอาหารกลางวันคุณภาพต่ำ กิน – ดื่ม อาหารว่าง หวาน – มัน เค็ม จัด ปฏิเสธกินผัก ละทิ้งอาหารไทย

ความจริงที่ค้นพบ ห่างกัน 5 ปี เด็กไทยวัยก่อนเรียน อ้วนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 40

อีก 10 ปี เด็กไทย 1 ใน 5 จะเป็นโรคอ้วน !!!

เด็กไทยวัยเรียน เดินมา 10 คน จะอ้วน – ท้วม 2 – 3 คน

เด็กไทยจำนวนมาก ขาด ไอ โอ ดีน และ ธาตุเหล็ก IQ ต่ำ

IQ ปกติ 90 – 100 แต่ เด็กไทย 91

เด็กไทยวัยเรียน ร้อยละ 49.6 กินขนมกรุบกรอบประจำ ห่างกัน 3 ปี กินเพิ่ม 2 เท่า

จ่ายเงิน 1 แสนล้านบาท / ปี จ่ายเงินเรียนหนังสือ 3,024 บาท เด็กไทย จ่ายเงิน 1 แสนล้านบาท / ปี ซื้อขนมด้อยคุณค่า เฉลี่ยคนละ 9,800 บาทต่อปี จ่ายเงินเรียนหนังสือ 3,024 บาท

จัดอาหารกลางวัน และอาหารว่าง โรงเรียนส่วนมาก จัดอาหารกลางวัน และอาหารว่าง ที่ให้พลังงานสูง

แป้ง ไขมัน น้ำตาล และโซเดียม เด็กไทย 1 ใน 3 กินอาหารประเภท แป้ง ไขมัน น้ำตาล และโซเดียม สูง เป็นประจำ

เด็กไทยจำนวนมาก กิน ผัก ผลไม้ ไม่พอ ควรกินผักวันละ 12 ช้อน แต่เด็กไทยกิน 1 – 2 ช้อน

อาหารว่างของเด็กไทย ไร้คุณค่า

ให้เด็กกินเป็นอาหารว่าง จะมีเด็กอ้วนน้อยกว่า ข้อมูลน่าสนใจ โรงเรียนที่จัดผลไม้ ให้เด็กกินเป็นอาหารว่าง จะมีเด็กอ้วนน้อยกว่า โรงเรียนไม่ได้จัด สูงถึงร้อยละ 30

ข้อมูลน่าสนใจ โรงเรียนที่ได้รับการสนับสนุน ทำกิจกรรมจากบริษัทเครื่องดื่ม น้ำอัดลม และขนม มีเด็กอ้วนเป็น 1.5 เท่า ของโรงเรียนที่ไม่ได้รับ

ข้อมูลน่าสนใจ โรงเรียนที่จำหน่ายน้ำอัดลม และเครื่องดื่มรสหวาน มีเด็กอ้วนเป็น 2 เท่า ของโรงเรียนที่ไม่ได้ขาย

ข้อมูลน่าสนใจ โรงเรียนที่ทำกิจกรรมทางกาย อย่างน้อย 3 ครั้งต่อสัปดาห์ มีเด็กอ้วนน้อยกว่า โรงเรียนที่ไม่ได้จัด ร้อยละ 20

เด็กไทยเป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ในที่สุด ห่างกันแค่ 5 ปี เด็กไทยเป็นเบาหวานชนิดที่ 2 จากร้อยละ 2 เป็นร้อยละ 18 เพราะ อ้วน

ใช้เงิน 7 – 8 หมื่นล้านบาท / ปี โรคเบาหวาน และโรคหัวใจหลอดเลือด ประเทศไทย ใช้เงิน 7 – 8 หมื่นล้านบาท / ปี รักษาคนป่วย โรคเบาหวาน และโรคหัวใจหลอดเลือด

คำถาม ? แล้วจะทำอย่างไร ? ปล่อยไว้ไม่เป็นไร ? ไม่ใช่ปัญหาของฉัน อย่าแบกประเทศไทยไว้ อยู่กันแบบนี้มาตั้งนาน ไม่เห็นเป็นอะไร ไม่ใช่ธุระของฉัน

ปัญหาโภชนาการ เป็นปัญหาภาระกิจ ของทุกคน จะละเลยไม่ได้

แก้ไขปัญหา นำพาให้เด็กไทย ได้เวลา ที่ทุกคนต้องใส่ใจ แก้ไขปัญหา นำพาให้เด็กไทย โภชนาการสมวัย

โครงการพัฒนาระบบและกลไก เพื่อเด็กไทยมีโภชนาการสมวัย โครงการพัฒนาระบบและกลไก เพื่อเด็กไทยมีโภชนาการสมวัย นายสง่า ดามาพงษ์ ผู้จัดการโครงการพัฒนาระบบและกลไก เพื่อเด็กไทยมีโภชนาการสมวัย สสส.

วัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างศักยภาพและสมรรถนะ ของ อปท. โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก สถานรับเลี้ยงเด็กและชุมชน รวมทั้งภาคีเครือข่าย ในการพัฒนาพฤติกรรมโภชนาการ ที่พึงประสงค์ เพื่อนำไปสู่การมีโภชนาการสมวัยของทารก เด็กวัยก่อนเรียน และเด็กวัยเรียน 30

กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร 0-3 ปี ทีมปฏิบัติการ และ นักขาย แม่ พ่อฯ ครอบครัว 0-5 ปี นิทาน “หม่ำๆ” นิทาน “แม่ยังจำได้” คู่มือ “พ่อแม่” ทีมวิชาการ อสม. แกนนำ สื่อชุมชน ชุมชน แผนยุทธศาสตร์สมวัย 3 ปี 1 ปี 3-5 ปี ผดด.แม่ครัว ศพด. บ้านรับเลี้ยง สถานรับเลี้ยง ภาพพลิก FBDG (แกนนำ อสม.) บทความหอกระจายข่าว เสียงตามสาย บทความสั้นวิทยุชุมชน อบต./ เทศบาล ผู้บริหาร ครู แม่ครัว ร้านค้า ผู้ปกครอง 6-14 ปี สพท. โรง เรียน ทีมนักการตลาดเชิงสังคม คู่มือ บริหารจัดการ (อปท) คู่มือ ผดด. ร่วมใจสร้างเด็กไทยฯ คู่มือ ช่วยเด็กไทยให้กินขนมดี นิทาน “แม่ยังจำได้” โปรแกรมอาหารกลางวัน โปรแกรมเฝ้าระวัง หลักสูตร อบรม สื่อสร้างสรรค์ฯ โครงการ สมวัย ท้องถิ่น จังหวัด สื่อสาร สาธารณะ ผู้บริหาร คู่มือบริหารจัดการอาหารในโรงเรียน โครงการ สมวัย แม่ครัว และผู้ประกอบการ คู่มือแม่ครัวอนามัยฯ คู่มือช่วยเด็กไทย ให้กินขนมดี ครู โปรแกรมอาหารกลางวัน โปรแกรมเฝ้าระวัง ชุดเรียนรู้กลาง(บูรณาการใน 8 สาระ) HUB/ทีมภาค นโยบาย สื่อสารสาธารณะ ศึกษา/มหาดไทย ระบบบริหารจัดการ

ขอขอบพระคุณ แทนเด็กไทย ขอขอบพระคุณ แทนเด็กไทย