คณะทำงานเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอเขต 12

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบูรณาการงานสุขภาพจิต กับระบบสุขภาพระดับอำเภอ(DHS)
Advertisements

กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน
โดย นายนิตย์ ทองเพชรศรี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS)
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.แหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
นโยบายการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
ประชาชน ภาคี กระบวนการ รากฐาน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ท้อง ถิ่น รพ สต ผู้นำ ชุมชน อสมอสม กอง ทุนฯ ประกาศ ค่ากลาง บูรณาการ งาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผ ล สร้าง โครงการ เปิดงาน บทบาทของฝ่ายต่างๆในการเปลี่ยนผ่าน.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กลไกการสนับสนุนการ ดำเนินงาน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ตำบล และ การพัฒนาระบบรับ - ส่งต่อแบบ บูรณาการ 2552.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
โครงการสร้างความเข้มแข็ง การพัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (PP) กองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น และเทศบาลเมืองรังสิต จ.ปทุมธานี ภายในปี พ.ศ
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและปฐมภูมิ
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
ผลลัพธ์ปี 2556 สำหรับทีมงานdhs
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
DHS,FCT 3P + ข้อเสนอ.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะทำงานเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอเขต 12 โครงการสนับสนุนการขับเคลื่อนเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ เพื่อการจัดการอำเภอสุขภาวะผ่านเครือข่ายโรงพยาบาลชุมชนต้นแบบ ในเขตบริการสุขภาพ เขต 12 คณะทำงานเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอเขต 12

รพช. + สสอ. + รพสต. + อปท.+ประชาสังคม เครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ District Health System Network การทำงานร่วมกันของ รพช. + สสอ. + รพสต. + อปท.+ประชาสังคม

องค์ประกอบ DHS (UCARE) การทำงานร่วมกันในระดับอำเภอ (Unity District Health Team) การมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน (Community participation) การทำงานจนเกิดคุณค่า ทั้งกับผู้รับบริการ และตัวผู้ให้บริการเอง (Appreciation) การแบ่งปันทรัพยากร และการพัฒนาบุคลากร (Resource sharing and human development) การให้บริการสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น (Essential care )

50%dhs(สธ,สปสช,สรพ,สสส,สพช) 2557 25%dhs(สธ,สปสช,สรพ,สสส,สพช) 2556 21 dhs+4ภาค+25 buddy(สธ,สปสช,สรพ) 2554-2555 Core team,project dhs(สปสช,สรพ) 2552-2554

จำนวน CUP ได้รับคัดเลือก DHS ปี 2556 จังหวัด จำนวน CUP สงขลา 5 นาทวี ,เทพา ,รัตภูมิ,ระโนด ,หาดใหญ่ สตูล 3 ละงู ,ท่าแพ ,ทุ่งหว้า ตรัง ห้วยยอด ,กันตัง ,ปะเหลียน พัทลุง เขาชัยสน ,ตะโหมด ,ป่าพะยอม ยะลา 4 ยะลา ,เบตง ,รามัน , ยะหา ปัตตานี กะพ้อ ,หนองจิก ,ยะหริ่ง,ไม้แก่น นราธิวาส แว้ง ,ระแงะ,บาเจาะ ,ตากใบ รวม 26 เป้าหมายการคัดเลือก CUP ผู้นำ CUP DSHA CBL FPL ชุมชนดีเด่น PCA ทีมบริหารระดับ CUP เข้มแข็ง

โครงการสนับสนุนการขับเคลื่อนเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ เขต 12 รพช. + สสอ.+ รพ.สต.+ อปท+ชุมชน อำเภอต้นแบบ สปสช.เขต+ สธ.เขต Health service delivery to HP เพื่อเสริมความเข้มแข็งของโรงพยาบาลชุมชนและพื้นที่ ระบบจัดการระดับเขตต้นแบบ เขต 12 พื้นที่ไข่แดง เช่น อ.นาทวี หนองจิก รามัน กะพ้อ ละงู ตากใบ Health workforce ด้วยกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอในเขตบริการสุขภาพ องค์ความรู้ นวตกรรมเพื่อเสริมศักยภาพเครือข่ายระดับอำเภอ Design health information ที่เหมาะสมกับพื้นที่ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพในระบบบริการสุขภาพ เขต 12 ได้แก่ ตรัง นราธิวาส ปัตตานี พัทลุง ยะลา สงขลา สตูล

เครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ(DHS)

เป้าหมาย ประชาชนและชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ และไม่ทอดทิ้งกัน โดยมีเครือข่ายบริการปฐมภูมิที่มีคุณภาพ และได้รับความไว้วางใจจากประชาชน เกิดการจัดการความรู้ ยกระดับการปฏิบัติให้เกิด “ศูนย์เรียนรู้ด้านการจัดการเครือข่ายสุขภาพอำเภอ”

วัตถุประสงค์ พัฒนารูปแบบและกลไกในระบบสุขภาพระดับอำเภอ เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน เสริมศักยภาพบุคคลในระบบบริการสุขภาพ และภาคีเครือข่ายจากทุกภาคส่วนในระดับอำเภอ/จังหวัด ให้สามารถสนับสนุนการจัดการสร้างเสริมสุขภาพในระบบสุขภาพระดับอำเภอ สร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างภาคีเครือข่ายในพื้นที่ จากองค์ความรู้ ข้อมูลข่าวสารสุขภาพ และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอ

ยุทธศาสตร์ การสนับสนุนการขับเคลื่อนเครือข่าย การสนับสนุนกลไกเชิงนโยบาย การจัดการความรู้ การพัฒนาระบบข้อมูล และการสื่อสารสาธารณะ การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรัง การพัฒนาศักยภาพในการสร้างเสริมสุขภาพที่สอดรับกับบริบทและวิถีชุมชน

กฏบัตรออตตาวาเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ (Ottawa Charter for Health Promotion ; 1986) 1.การสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (Build healthy public policy) 2.สร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (Create supportive environment) 3.เสริมสร้างกิจกรรมชุมชนให้เข้มแข็ง (Strengthening community action) 4.การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล (Develop personal skill) 5.การปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพ (Reorient health services)

โครงการสนับสนุนการขับเคลื่อนเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ เขต 12 รพช. + สสอ.+ รพ.สต.+ อปท+ชุมชน อำเภอต้นแบบ สปสช.เขต+ สธ.เขต Health service delivery to HP เพื่อเสริมความเข้มแข็งของโรงพยาบาลชุมชนและพื้นที่ ระบบจัดการระดับเขตต้นแบบ เขต 12 พื้นที่ไข่แดง เช่น อ.นาทวี หนองจิก รามัน กะพ้อ ละงู ตากใบ Health workforce ด้วยกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอในเขตบริการสุขภาพ องค์ความรู้ นวตกรรมเพื่อเสริมศักยภาพเครือข่ายระดับอำเภอ Design health information ที่เหมาะสมกับพื้นที่ เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพในระบบบริการสุขภาพ ODOP กรณี โรคเรื้อรัง OTTAWA CHARTER

Psychiatric Diseases & Mental Health P &P MCH EMS Acute Minor Diseases Dental Health Chronic Diseases Psychiatric Diseases & Mental Health Disabilities End of life care High risk groups (Pre-school, Adolescent, Elderly) Concept & Policy Structure & Organization Resources Allocation & Sharing Manpower Development Information System Supportive mechanism New Management (Partnership & Networking) เอื้อเฟื้อแฟ้มภาพ : รศ.นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพ

งบประมาณ งบสนับสนุนจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) งบUC หมวดงบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการปฐมภูมิ งบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กองทุนสุขภาพตำบล งบ สสส.

ประเด็นปรึกษาหารือ รูปแบบการดำเนินการ อื่นๆ การบริหารจัดการโครงการ บทบาทที่ปรึกษา ทีมเขต จังหวัด การขับเคลื่อนงานในระดับอำเภอ อื่นๆ การวิจัยเชิงปฏิบัติการ

DHS NEVER END