สื่อการเรียนการสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสร้างสื่อสิงพิมพ์ ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
Advertisements

นักศึกษาทุกคน วิชา การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ทางการแพทย์
สวัสดีครับ. สวัสดีครับ รายวิชา ง40204 คอมพิวเตอร์เสริม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6.
สื่อคุณค่าพระวรสาร กราฟิกเบื้องต้น วิชาคอมพิวเตอร์ ม.1.
การออกแบบ Laptop Cover
วิชาสื่อ ประสม ง แบบทดสอบกลางภาค
การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book)
การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 (ง31102)
องค์ประกอบ Graphic.
บทนำ การเขียนโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
การสร้างงานกราฟิก.
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
ปากกาแสง (Light Pen).
Creating Effective Web Pages
หน่วยที่ 5 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างขั้นตอนในการสืบค้นข้อมูล
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
เครื่องพิมพ์ (Printer)
แก้ไขปรับปรุง Form.
Page 1 การอบรมเชิงปฏิบัติการระบบเว็บไซต์คณะและหน่วยงาน ๑๔ กันยายน ๒๕๕๒ งานพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (MIS) สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ.
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
การสร้างสื่อนำเสนอด้วย PowerPoint
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
วิธีดูธนบัตรปลอม จุดสังเกตในธนบัตรรัฐบาล.
การสั่งพิมพ์ไฟล์เอกสารออกทาง เครื่องพิมพ์
ส่วนประกอบ อุปกรณ์ และคุณสมบัติที่ดีของคอมพิวเตอร์
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
วาดภาพสวยด้วย Paint.
นางสาววิรากร ใจเอื้อย การสร้างแผนภูมิ ตอนที่ 10 นางสาววิรากร ใจเอื้อย
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ
Computer Graphics Image Processing 1.
การพิมพ์งานออกทางเครื่องพิมพ์
รายงาน (Report).
Principle of Graphic Design
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
เครื่องพรินเตอร์ Printer.
เครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้า
Microsoft Word Printing
การใช้โปรแกรม Microsoft Word 2007
รู้จักกับชนิดของภาพกราฟิกบนเว็บ
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
รายวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 2 เริ่มต้นใช้งาน Flash
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
CorelDRAW 12.
น.ส.วีรยาภรณ์ รัตนไพบูลย์ sc18c
รายวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก
นางสาวเบญจมาศ รัตน์พิทักษ์
. ในเว็บเพจนั้นมีเพียง 3 ชนิด ซึ่งเว็บบราวเซอร์ส่วน ใหญ่จะสนับสนุนฟอร์แมตของรูปภาพ GIF, JPG, PNG.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้แผ่นพับ
กิจกรรมคอมพิวเตอร์ การใช้โปรแกรม Adobe Photoshop CS3.
รายวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
ประเภทของไฟล์เสียงเสียง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร
นางสาวขวัญชนก ขจรภพ รหัสนิสิต กลุ่ม B06 คณะพยาบาลศาสตร์
นางสาวเบญจมาศ รัตน์พิทักษ์
การนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ ให้น่าสนใจได้อย่างไร
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
Adobe Photoshop เทคนิคพิเศษ และฟิลเตอร์
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
เสริมเว็บให้ดูสวย.
Graphic Design 03.
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
การสกีนหมวกจากใบหน้าตนเอง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเลือกใช้คอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สื่อการเรียนการสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก นางสาวเบญจมาศ รัตน์พิทักษ์

รายวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก รหัสวิชา 3000-0205 ครูผู้สอน นางสาวเบญจมาศ รัตน์พิทักษ์ ติดต่อ am_oh@msn.com , www.atsalor.com

ตอนที่ 16 การพิมพ์ภาพ และนำภาพไปใช้บนเว็บ นางสาวเบญจมาศ รัตน์พิทักษ์ นางสาวเบญจมาศ รัตน์พิทักษ์ ติดต่อ am_oh@msn.com , www.atsalor.com

จุดประสงค์การเรียนรู้ สามารถบอกคุณสมบัติและลักษณะการใช้งานของเครื่องพิมพ์แต่ละประเภทได้ 2. สามารถเลือกใช้กระดาษให้เหมาะสมสำหรับพิมพ์งานรูปแบบต่าง ๆ ได้

จุดประสงค์การเรียนรู้ 3. สามารถกำหนดคุณสมบัติต่างๆ ให้กับงานพิมพ์ได้ สามารถสั่งพิมพ์งานออกสู่เครื่องพิมพ์ได้

จุดประสงค์การเรียนรู้ 5. สามารถอธิบายฟอร์แมตของไฟล์ประเภทต่าง ๆ สำหรับเว็บกราฟิกได้ 6. สามารถแปลงภาพกราฟิกเพื่อนำไปประกอบบนเว็บได้

เตรียมพร้อมก่อนพิมพ์ภาพ

เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ต เครื่องพิพม์กับงานกราฟิก เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ต

เครื่องพิพม์แบบเลเซอร์ เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ เครื่องพิมพ์ชนิดนี้ เป็นเครื่องที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง โดยลักษณะการทำงานของ เครื่องจะใช้ แสงส่องเข้าไป เปลี่ยนประจุไฟฟ้า บนดรัมไวแสง (Photo-Sensitivedrum) ให้เข้มหรือจาง

เครื่องพิพม์แบบเลเซอร์ โดยเมื่อกระดาษ ผ่านดรัมไป แท่งความร้อนภายในเครื่อง จะทำปฏิกิริยา ให้ผงหมึกใน โทนเนอร์ (Toner) เกิดการละลายเป็นจุดสีบริเวณที่มีประจุ

เครื่องพิพม์แบบเลเซอร์ ซึ่งจะทำให้เกิด เป็นรูปภาพ ตัวหนังสือ ลงบนกระดาษ ซึ่งรายละเอียดของภาพ จะมีความคมชัด และมีคุณภาพสูง จึงเหมาะกับการพิมพ์รายการสินค้า หรือ ชิ้นงานที่ต้องการคุณภาพสูง เพราะสีที่ได้จากการพิมพ์ จะมีความ สวยงามเหมือนจริงมาก

เครื่องพิพม์แบบเลเซอร์

เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ต เครื่องพิมพ์ชนิดนี้ เป็นเครื่องที่ใช้หลักของการ พ่นหมึกสีผสมกัน จำนวน 4 สี คือ สีฟ้า สีม่วงบานเย็น สีเหลือง และสีดำ

เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ต เพื่อจะทำให้เกิดการพิมพ์ภาพของชิ้นงาน โดยชิ้นงานที่ออกมา จะได้คุณภาพตามความต้องการ ที่สำคัญเครื่องพิมพ์ชนิดนี้ จะมีราคาไม่แพง เมื่อเทียบกับ เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์

เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ต ในการพิมพ์ชิ้นงานด้วย เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ต จะเหมาะสำหรับ การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก งานตัวอย่าง และงานที่ไม่เน้นความละเอียดสูง เช่น นามบัตร สติ๊กเกอร์ ภาพถ่าย เป็นต้น

เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ต

กระดาษสำหรับพิมพ์งานกราฟิก

กระดาษสำหรับงานพิมพ์กราฟิก กระดาษสำหรับเอกสาร (A4 ปอนด์ 80 แกรม)

กระดาษสำหรับงานพิมพ์กราฟิก กระดาษสำหรับภาพถ่าย (Photo Paper)

กระดาษสำหรับงานพิมพ์กราฟิก กระดาษสำหรับภาพถ่ายแบบมัน (Glossy Photo Paper)

กระดาษสำหรับงานพิมพ์กราฟิก ขนาดการ์ด (Photo Card) กระดาษสำหรับภาพถ่าย ขนาดการ์ด (Photo Card)

กระดาษสำหรับงานพิมพ์กราฟิก กระดาษลอกลายภาพลงบนผ้า (Fabric Transfer Paper)

กระดาษสำหรับงานพิมพ์กราฟิก กระดาษแบบสติ๊กเกอร์

กระดาษสำหรับงานพิมพ์กราฟิก กระดาษสำหรับพิมพ์เพลงด้วยตนเอง

กระดาษสำหรับงานพิมพ์กราฟิก กระดาษสำหรับนำเสนองานเป็นแบบฟิล์มใส

ตรวจสอบคุณภาพ สีบนจอภาพก่อนพิมพ์

ตรวจคุณภาพสีก่อนพิมพ์ View > Proof Setup

ตรวจคุณภาพสีก่อนพิมพ์ View > Proof Setup

กำหนดคุณสมบัติก่อนพิมพ์ file > Page Setup

ตัวอย่างขนาดกระดาษที่เลือก กำหนด ลักษณะกระดาษ กำหนด ระยะเว้นขอบการพิมพ์ กำหนด แนวการพิมพ์

กำหนดขนาดและตำแหน่งภาพ file > Print Preview

การพิมพ์งานออกสู่เครื่องพิพม์

Format ของ ไฟล์ภาพกราฟิก

Format ของ ไฟล์ภาพกราฟิก .gif .jpg .png

.gif เป็นไฟล์ที่ถูกบีบอัดให้เล็กลง ใช้กับรูปภาพที่ไม่ได้เน้นรายละเอียดสีที่สมจริง ไม่เหมาะกับภาพถ่าย จะเหมาะกับภาพการ์ตูน ภาพแนว vector มากกว่า เนื่องจากมีการไล่ระดับเฉดสีเพียง 256 สี

.jpg เป็นไฟล์ที่รู้จักกันดี มีคุณสมบัติในการบีบอัดขนาดไฟล์ได้ ทำให้สามารถนำไปใช้งานบนเว็บไซท์ หรือ งานสิ่งพิมพ์ที่ไม่ได้เน้นคุณภาพของภาพมากนัก เป็นไฟล์ที่เหมาะสำหรับใช้ในภาพประเภทภาพถ่าย

.png เหมาะสำหรับใช้ในเว็บไซท์ สามารถบีบอัดขนาดไฟล์ลงได้พอสมควร โดยที่ยังรักษาคุณภาพของภาพเอาไว้ได้ และที่สำคัญสามารถเลือกระดับสีใช้งานได้ถึง 16 ล้านสี

เข้าสู่โปรแกรม Adobe Photoshop